Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: นโยบายการพัฒนาคนไทยเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว จินางค์กูร โรจนนันต์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง นโยบายการพัฒนาคนไทยเพอ ื่ เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั นางสาวจนิางค ์ กูรโรจนนันต์ หลักสูตร ปรอ. รุ่นที่26 การศึกษาน้ีมีวตัถุประสงคเพื่อ ์ ศึกษาและวิเคราะห์นโยบายและแนวทางการพัฒนาคนไทย ท้งัในดา้นปริมาณ คุณภาพ (การศึกษา ฝึ กอบรม สุขภาพ) รวมถึงการสร้างความมนั่ คงในชีวิตในมิติ ของการสวัสดิการและการคุ้มครองทางสังคมในปัจจุบัน รวมถึงเปรียบเทียบกับต่างประเทศบาง ประเทศที่เป็ นสังคมผู้สูงอายุแล้ว และเสนอแนะนโยบาย แนวทางในการพัฒนาคนไทยเพื่อเตรียม ความพร้อมในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ รวมถึงการปรับบทบาทโครงสร้างของหน่วยงานที่ รับผิดชอบหลัก ผลการศึกษาพบว่านโยบายและแนวทางการพัฒนาคนไทย ด้านสุขภาพ ควรมุ่งเน้น นโยบายส่งเสริมการเกิดที่มีคุณภาพ โดยจัดการความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมและการ เตรียมความพร้อมพ่อแม่อย่างเป็ นระบบ ขณะที่การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพควรด าเนินการพัฒนา ความรู้/ทกั ษะในการดูแลสุขภาพ และกลไกเฝ้าระวงัความมนั่ คงทางสุขภาพจากปัจจัยคุกคาม สุขภาพ นอกจากน้ีในดา้นการยกระดับคุณภาพของระบบบริการและระบบหลักประกันสุขภาพ ควรให้ความส าคัญกับพัฒนาระบบบริการ โดยเฉพาะด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ควบคู่กับการพัฒนา บุคลากรท้ังด้านการผลิตและการกระจาย และการใช้มาตรการการเงินการคลงัเพื่อสุขภาพที่มี ประสิทธิภาพ/ยงั่ ยืนและไม่กระทบต่อความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการที่จ าเป็ นของผู้มีรายได้ น้อยและผู้ด้อยโอกาส ด้านการศึกษา มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ โดย พัฒนาหลักสูตร/การเรียนการสอน การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมตามช่วงวัย และการ พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานวิชาชีพ โดยสนับสนุนบทบาท ผู้ประกอบการในการก าหนดทิศทางความต้องการก าลังคน รวมท้งัการสร้าง/กระจายโอกาสทาง การศึกษา โดยปรับปรุงคุณภาพสถานศึกษาและการพัฒนาครูอาจารย์ ด้านแรงงาน ให้ความส าคัญ กับการยกระดบัคุณภาพกา ลงัแรงงาน โดยเพิ่มขีดความสามารถของผจู้บการศึกษาและผลิตภาพของ แรงงานให้มีมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน อีกท้งัส่งเสริมการท างานของ ผสูู้งอายุโดยให้ความส าคัญกับการสนับสนุนให้มีการจา้งงานท้งัในและนอกระบบและพฒั นา ความรู้/ทักษะให้แก่แรงงานสูงอายุ ขณะที่ ด้านสวัสดิการสังคม เน้นการยกระดับคุณภาพของระบบข การคุ้มครองทางสังคม โดยพัฒนาระบบสวัสดิการทางสังคมให้มีระบบความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกัน ในทุกระดับ ขณะเดียวกันควรส่งเสริมระบบการออมเพื่อวัยสูงอายุ โดยปลูกจิตส านึกในการออมแก่ ประชากรทุกช่วงวัย และมีมาตรการสร้างแรงจูงใจในการออม นอกจากน้ีการพฒั นาความมนั่ คง ทางเศรษฐกิจและสังคมแก่ผู้สูงอายุควรด าเนินการให้มีระบบหลกั ประกนั ดา้นรายไดข้้นั พ้ืนฐาน ครอบคลุมประชากรทุกคน และพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวส าหรับผู้สูงอายุ ขณะที่การด าเนินการปรับปรุ งองค์กร ซึ่งเป็ นอีกกระบวนการหนึ่งที่มีความจ าเป็ นเพื่อ ส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาข้างต้นให้ประสบผลส าเร็จควรประกอบด้วย ด้านสุขภาพ ควร สร้างความเป็ นเอกภาพในกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพ และกระจายอ านาจการบริหารจัดการ ระบบสุขภาพจากส่วนกลางสู่ทอ้งถิ่น รวมท้งัออกแบบกลไกการท างานที่สามารถเชื่อมประสาน ระหว่างภาคส่วนต่างๆ ด้านการศึกษาควรพัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างภาคส่วนที่ท าหน้าที่ การผลิตและพัฒนาก าลังคน ควบคู่กับการยกระดับคุณภาพของสถาบันการศึกษาในการผลิตและ พัฒนาก าลังคน ด้านแรงงาน ควรมุ่งเน้นการส่งเสริมเครือข่ายในการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและ มาตรฐานแรงงาน ร่ วมกับการพัฒนาฐานข้อมูลด้านแรงงานเพื่อใช้สนับสนุนในการก าหนด นโยบายการพัฒนาแรงงานที่มีประสิทธิภาพ และ ด้านสวัสดิการสังคม ควรให้ความส าคัญกับ การบูรณาการกลไกการด าเนิ นงานจัดสวัสดิการสังคมให้เชื่อมโยงกัน และการพัฒนา สภาพแวดลอ้มใหเ้อ้ือต่อการเขา้มามีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการจัดสวัสดิการสังคม

abstract:

ABSTRACT Title Policy on Thai people development in order to be prepared to enter to aging society Field Social-Psychology Name Ms. Jinanggoon Rojananan Course NDC(JSPS) Class 26 The study on “Policy on Thai people development in order to be prepared to enter to aging society” has its objective as to study and analyze policies and guidelines related to Thai people development in area of education, skill development, social protection. The finding will be compared with some aged countries in order to select applications from best practices which are able to utilize in Thai context. The result of this study is to propose policy and guideline relates to Thai people development including suggestions on improvement of agencies related’s function. Therefore the scope of study covers studying and analyzing Thai people development policies and guidelines in mentioned area and function of agencies related. Mainly of the study executes as a qualitative analysis. Findings from the study indicates that Thailand is facing challenges as increasing in health expenditure, low quality of education, low productivity of workforce, inadequate of social welfare. Moreover, study of best practices show that public service such as health care and social welfare should be provide as cost sharing basis and encouraging people to saving more. The people development emphasizes on standard of school, student-centered, and increasing capacity of workforce. The suggestions propose health policy focusing on health prevention and distribution of health personal in regional area. Education policy emphasizes on education reform that will lead to quality school, teacher, and management. Labour policy stresses on increasing productivity and implementing vocational qualification system. Social welfare focuses on the coverage of providing welfare to vulnerable group and encouraging people to saving more. While function of agencies related indicate the coordination among agencies effectively and with holistic approach.2