เรื่อง: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Radio Frequency Identification (RFID) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพนโยบายสาธารณะ : กรณีศึกษาประสิทธิภาพมาตรการลอยตัวและการควบคุมก๊าซธรรมชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จรัญ วิวัฒน์เจษฎาวุฒิ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Radio Frequency Identification (RFID) เพือ
เพิมประสิทธิภาพนโยบายสาธารณะ: กรณีศึกษา ประสิทธิภาพมาตรการลอยตัว
และการควบคุมก๊าซธรรมชาติ
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายจรัญ วิวัฒน์เจษฎาวุฒิหลักสูตร ปรอ. รุ่นที ๒๖
ในการศึกษาครัHงนีH มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพือ ๑) เพือศึกษาการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ Radio Frequency Identification (RFID) เพือเพิมประสิทธิภาพนโยบายสาธารณะ ๒)
เพือวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากการบริหารนโยบายลอยตัวแก๊ซธรรมชาติ และ ๓) เพือเสนอ
แนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Radio Frequency Identification (RFID) เพือเพิม
ประสิทธิภาพนโยบายสาธารณะ ในการกาหนดมาตรการลอยตัวและการควบคุมแก ํ ๊ซธรรมชาติ มี
ขอบเขตของการวิจัย โดยการศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Radio Frequency Identification
(RFID) เพือเพิมประสิทธิภาพนโยบายสาธารณะ มาตรการลอยตัวและการควบคุมแก๊ซธรรมชาติ
และมีวิธีดําเนินการวิจัย โดยผู้ศึกษาใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) วิธีศึกษาใน
รูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analytical approach) โดยใช้การวิจัยเอกสาร (Documentary
Research) เพือศึกษาบทบาท สถานภาพ และมีความสําคัญต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Radio
Frequency Identification (RFID) เพือเพิมประสิทธิภาพนโยบายสาธารณะ มาตรการลอยตัวและการ
ควบคุมแก๊ซธรรมชาติ
ผลการวิจัย พบวา จากนโยบายการควบคุมราคาก ่ ๊าซ LPG ในประเทศไทย ทําให้เกิด
ปัญหาหลายอย่าง อันได้แก่ เป็ นภาระกองทุนนํHามัน ความไม่เป็ นธรรมแก่ผู้ใช้นํHามัน การลักลอบ
ส่งออกก๊าซ LPG ออกต่างประเทศ การลักลอบใช้ก๊าซ LPG ผิดประเภท จากภาคครัวเรือน ไปสู่ภาค
ขนส่งหรืออุตสาหกรรม เพือให้ภาครัฐสามารถแกปัญหาอันเก ้ ิดจากการอุดหนุนราคาขายปลีกก๊าซ
LPG ได้ จึงมีความจําเป็ นทีภาครัฐจะต้องทราบจํานวนก๊าซ LPG ซึ งใช้จริงในภาคครัวเรือน ภาค
ขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม สามารถติดตามตรวจสอบการใช้งานก๊าซ LPG ได้ว่าถูกต้องตาม
วัตถุประสงค์ ซึ งการทีภาครัฐจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้ จําเป็ นจะต้องมีระบบ
สารสนเทศ ซึ งบูรณการทัHงระบบ สามารถติดตามตรวจสอบได้ตลอดเวลา และเนืองจากก๊าซ LPG
เป็ นวัตถุไวไฟ ซึงนิยมใช้กนมากในประเทศไทย ผ ั านถังบรรจุก ่ ๊าซ ดังนัHน ภาครัฐจึงสามารถใช้การติดตามการใช้งานถังบรรจุก๊าซ เพือตรวจสอบได้ ตัHงแต่การผลิตถังบรรจุก๊าซ LPG โรงบรรจุก๊าซ
LPG การกระจายขนส่ง Logistic สถานทีใช้งานก๊าซ LPG การทําลายถังก๊าซ LPG หมดอายุ โดย
นําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภท Radio Frequency Identification (RFID) มากากํ บ ติดตามหรือ ั
คุมควบการดําเนินงาน
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรมีการนําเอาเทคโนโลยี RFID มาใช้ เนืองจากมีประโยชน์ในการตรวจสอบ
ย้อนกลับ สามารถตรวจสอบได้วา จะขาดแคลนก ่ ๊าซทีใดบ้าง ปริมาณเท่าใด วันและเวลาทีคงเหลือ
และจะต้องสังก๊าซเท่าใด เพือไม่ให้การผลิตเกิดปัญหา รวมถึงการเห็นภาพรวม (visibility) ความ
ปลอดภัย การตัดสินใจ การจัดการสินค้าเข้าออก (FIFO) ความถูกต้อง ซึงต้นทุนของ RFID คิดเป็ น
๑๐-๒๐ % ของระบบทัHงหมด
๒. ควรนํา RFID ไปใช้กบภาคอุตสาหกรรม เนืองจากจะทําให้ได้ข้อมูลทีได้เป็ น Re ั al
Time แล้วนํามาประมวลผล การจัดการการผลิต เครืองมือทีใช้นํามา Integrate เข้าด้วยกน จน ั
สามารถส่งข้อมูลได้ไกลในระดับประเทศได้ และการใช้เทคโนโลยีนีHยังสามารถช่วยวางแผนกาลัง ํ
การผลิต เมือข้อมูลเป็ น Real Time ทําให้สามารถตรวจสอบถ้าเกิดความผิดปกติจากกระบวนการได้
๓. ควรนําระบบ RFID มาช่วยในการบริหารจัดการการการควบคุมก๊าซ ในการเติม
รถบรรทุกขนส่งประเภทต่างๆ ทีเข้ามาบรรจุก๊าซให้เป็ นไปอยางมีประสิทธิภาพ ่
๔. เทคโนโลยี RFID เป็ นเทคโนโลยีทีมีประโยชน์ ทําให้ทราบวาในแต ่ ่ละครัวเรือน มี
การใช้ก๊าซมากน้อยแค่ไหน เพือเป็ นการควบคุมและมีการเก็บข้อมูลในแต่ละครัวเรือน ทําให้ทราบ
วาในแต ่ ่ละภูมิภาคมีการใช้ก๊าซในปริมาณเท่าไร รัฐบาลหรือหน่วยงานทีเกียวข้องจะต้องเตรียมการ
รองรับ
abstract:
ABSTRACT
Title: Radio Frequency Identification (RFID) use to increase effectiveness of public policy: Case
Study: Effectiveness of Natural Gas Control and Floating Rate Measure
Field of Study: Science and Technology
Researcher: Mr. Jarun Wiwatjesadawut, the Joint State-Private Sector Course Class 26
This research was conducted with the objectives 1) to study Radio Frequency Identification (RFID)
technology use to increase effectiveness of public policies 2) to analyze problems and effects from the
administration on natural gas floating rate policy and 3) to propose approaches of Radio Frequency Identification
(RFID) technology use to increase effectiveness of public policy on natural gas control and floating rate measure.
The scope of research is to study Radio Frequency Identification (RFID) technology use to increase effectiveness
of public policy on natural gas control and floating rate measure. This qualitative research was conducted with a
descriptive analytical approach through documentary research in order to study roles, status and importance of
Radio Frequency Identification (RFID) technology use to increase effectiveness of public policy on natural gas
control and floating rate measure.
From the research, it was found that the policy on LPG price control in Thailand had caused various
problems such as burdens on oil fund, unfairness of oil users, LPG smuggle out, false identification of LPG
consumption (for household, transport or industrial sectors). In order that the state could solve problems from
retail LPG price support, it was then necessary to know actual amounts of LPG consumption in household,
transport and industrial sectors so that LPG consumption could be traced whether it was corresponding to the
objectives of uses or not. To meet such target, it was necessary to have an integrated technological system which
could perform the monitoring at all time. With its nature as a flammable substance popularly used in Thailand in
the form of gas tank, the state could easily monitor uses of gas tank to check the process from LPG tank
production, LPG bottling, LPG distribution and logistics, LPG consumption places to expired LPG tank
demolition by using the Radio Frequency Identification (RFID) technology to supervise, monitor or control the
operations.
Suggestions
1. Radio Frequency Identification (RFID) technology should be used because it can retrospectively
check the place and the amount where LPG is in need, date and time of LPG remaining amount and amount of
LPG order to smoothen the production; to have the visibility, safety, decision and management of inventory
(FIFO) correctly. RFID costs are calculated at 10-20% of the whole system.
2. Radio Frequency Identification (RFID) technology should be used in the industrial sector in order
to get real time data which could be processed for production management by using integrated tools to obtain
nationwide information. The technology also enables production planning. With real time data, errors in the
production process could be easily inspected.
3. Radio Frequency Identification (RFID) technology should be used to efficiently manage and
control LPG filling for various types of trucks.
4. Radio Frequency Identification (RFID) technology is beneficial for checking amount of LPG
consumption in each household. This will help controlling and recording the consumption of each household and
the data will reveal the amount of LPG consumption in each region and help the government or relevant working
agencies to prepare sufficient amount to support the consumption.