เรื่อง: แนวโน้มการเคลื่อนย้ายกำลังพลแพทย์ สังกัดกองทัพอากาศ เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาอากาศเอก ไกรเลิศ เธียรนุกุล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวโน้มการเคล
ื่อนย้ายก าลังพลแพทย
์
สังกัดกองทัพอากาศ เม
ื่อเข้าสู่ประชาคม
อาเซียน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั นาวาอากาศเอกไกรเลิศ เธียรนุกุล หลักสูตร ปรอ. รุ่นที่๒๖
เมื่อเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community: AEC) ภายในปี
พ.ศ.๒๕๕๘ จะมีการเคลื่อนยา้ยแรงงานท้งั ๗ สาขาวิชาชีพอย่างเสรีในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งบุคลากร
สายแพทย์ เป็ นหนึ่งใน ๗ สาขาวิชาชีพน้นั จึงมีโอกาสที่จะถกู ดึงบุคคลที่มีความรู้ความสามารถไป
ร่วมงาน ด้วยปัจจัยต่างๆที่จูงใจมากกว่า ท าให้เกิดปัญหาสมองไหลในสถานพยาบาล สังกัด
กองทพัอากาศ การวิจยัน้ีเพื่อศึกษาทัศนคติความรู้ และปัจจัยที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายสถานที่ท างาน
ของก าลังพลแพทย์ สังกัดกองทัพอากาศ เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและน าเสนอแนวทาง การ
เตรียมการ การบริหารก าลังพลแพทย์ ให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
โดยการศึกษางานวจิยัฉบบั น้ีเป็นการศึกษาเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใช้แบบสอบถาม
สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างก าลังพลแพทย์ จ านวน ๑๘๙ คน จากสถานพยาบาลในสังกัดกองทัพอากาศ
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีการตัดสินใจจะลาออกหรือมีแนวโน้มว่าจะลาออกจากงานราชการ
กองทัพอากาศ ภายใน ๒ ปี (พ.ศ.๒๕๕๗ - พ.ศ.๒๕๕๘) มีถึงร้อยละ ๒๕.๙๓ สูงกว่าสถิติก าลังพล
แพทยท์ ี่ลาออกก่อนเกษียณยอ้นหลงัต้งัแต่ปี๒๕๕๒ ถึงปี ๒๕๕๖ ซึ่งมีเพียงร้อยละ ๒.๓๓ – ๕.๓๘
หากพิจารณาเฉพาะกลุ่มที่ตอบว่าจะลาออกแน่นอนมีอัตราร้อยละ ๒.๕๖ มีอัตราใกล้เคียงกับอัตรา
ลาออกเดิม การเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไม่ใช่เป็ นเหตุผลหลักอย่างเดียวในการที่กลุ่มตัวอย่าง
ใช้ในการตัดสินใจออกจากงาน แต่มีผลจากการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบ้าง สาเหตุส าคัญที่
กลุ่มตัวอย่างใช้พิจารณาในการลาออกหรือแนวโน้มจะออก ได้แก่ ความไม่พอใจระบบราชการที่
เป็ นอยู่ มีมากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ ๒๒.๔๑, ในล าดับที่สองมีสองสาเหตุคือ การมีรายได้ไม่เพียงพอ
และต าแหน่ง ยศ ไม่เจริญก้าวหน้า คิดเป็ นร้อยละ ๒๐.๑๑ , ล าดับที่สามเป็ นงานราชการที่มากเกินไป
คิดเป็ นร้อยละ๑๐.๙๒ การแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจ าเป็ นต้องมีการวางแนวทางการรับราชการ (career
path)และการปรับโครงสร้างองค์กรให้เหมาะสมต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title : Trend of migration of Medical Professional Officers in Royal Thai Air
Force under the ASEAN Economic Community(AEC)
Field : Social- Psycology
Name: Group Captain Krailert Thiennukul,MD Course NDC (JSPS) Class 26
Thailand will be involved in ASEAN Economic Community (AEC) in 2015 and with
the Mutual Recognition Agreement (MRA) that will result in the free flow of 7 skilled labour
within the Asean member countries. Skilled workers and Medical professionals are expected to
flow into the better benefit places. This quantitative research wants to study the attitude, knowledge
and the factors that effect the decision of migration of the Medical professionals in Royal Thai Air
Force (RTAF) so we can find out the ways to prepare and improve the Human resource
administration for preserving them to maintain the RTAF Medical Services task. From total 356
medical professionals, the 189 interview papers of the random sample groups show that 25.93%
includes both sample group decisively resign and sample group has trend to resign from RTAF
within 2 years (2014-2015) compare to the resigned data between 2009-2013 that revealed 2.33,
5.38, 3.86, 4.13 and 4.52% respectively. However, only 2.56% of sample group decide to exactly
resign that closed to the previous data. MRA or AEC are not the only or main reason for the
sample groups consider for resigning but unpleasant in system (22.41%), insufficient incomes
(20.11%), obstruct of rank and position (20.11%), too hard job (10.92%) are still the most influent
factors that sample groups concern for resigning. According to the result, we suggest to provide the
exact and reasonable career path for professionals with good governance. The structure of
organization must be modified and improved to fit the needs.