เรื่อง: มาตรการด้านผังเมืองเพื่อป้องกันและจัดการปัญหาน้ำท่วม : กรณีศึกษาในพื้นที่จังหวัดลพบุรี
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เกียรติศักดิ์ จันทรา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง มาตรการด้านผังเมืองเพื่อป้ องกัน และจัดการปัญหาน ้าท่วม : กรณีศึกษาในพื้นที่
จงัหวดัลพบุรี
ลักษณะวิชา สังคม –จิตวิทยา
ผู้วจิยั นายเกียรติศักดิ์ จันทรา หลักสูตร ปรอ. รุ่นที่ ๒๖
ในอดีตที่ผ่านมา ประเทศไทยไม่ได้มีการเตรียมรับมือกับสถานการณ์น้า ท่วมขนาด
ใหญ่ไว้ อีกท้งัมีการขยายตวัของชุมชนเมืองเขา้ไปในพ้ืนที่ในลุ่มน้า ท่วมถึง ซึ่งประเทศไทยควร
มีแผนแม่บทการพัฒนาเมืองที่ควบคุมการพัฒนาเมืองครอบคลุมถึงพ้ืนที่ลุ่มน้า ท่วมถึงทวั่ ประเทศ
โดยมีมาตรการด้านผังเมืองที่ชัดเจนเพื่อลดความเสียหายจากน้า ท่วมต่อชุมชนและเมืองในอนาคต
การศึกษาคร้ังน้ีได้ศึกษาถึงแนวทางการใช้มาตรการด้านผังเมืองเพื่อเป็ นเครื่องมือ ใน
การบริหารจัดการและป้องกนั ปัญหาจากน้า ท่วมที่เกิดข้ึน โดยเลือกกรณีศึกษาในพ้ืนที่จงัหวดัลพบุรี
เนื่องจากเป็ นจังหวัดที่อยใู่นพ้ืนที๒ลุ่มน้า มีลกัษณะภูมิประเทศท้งัภูเขาและที่ลุ่ม ซ่ึงเกิดปัญหาน้า
ท่วมทุกปีอีกท้งัยงัมีท้งัแหล่งท่องเที่ยวทางและแหล่งวัฒนธรรมที่ส าคัญ
จากการศึกษาถึงมาตรการผังเมืองในการบริหารจดัการปัญหาน้า ท่วม พบว่าการผัง
เมืองของไทยได้มีการจัดท าในทุกระดับและได้รวมปัจจัยปัญหาเรื่องน้า ท่วม เป็นปัจจยัหน่ึงในการ
วางผังเมืองรวมจังหวัดและผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน ไว้ในเชิงนโยบายแล้ว โดยได้ก าหนดการใช้
ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับ นโยบายการพัฒนาประเทศ สภาพธรรมชาติ ทรัพยากร ศิลปะ
วัฒนธรรม ประชากร สังคม และเศรษฐกิจ ฯลฯประกอบกับ ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย
ท้งัหมด จนสรุปไดเ้ป็นผงัเมืองรวมท้งัในระดบั จงัหวดัและระดับเมือง แต่ประเด็นปัญหาคือมีผัง
เมืองรวมระดับจังหวัดใช้บังคับอยู่เพียง ๒๒จังหวัด และยังต้องจัดท าผังด้านการบริหารการระบาย
น้า เพิ่มเติมใหค้รบทุกจงัหวดัดอีกดว้ย
ซึ่งในกรณีจังหวัดลพบุรีแม้ว่า การวางผังเมืองรวมจังหวัดลพบุรี จะอยู่ระหว่าง
ด าเนินการ แต่ก็พบว่าการจัดท าร่างผังเมืองรวมจังหวัดมีความสอดรับกบั ปัญหาอุทกภยัในพ้ืนที่ลุ่มข
น้า เจา้พระยาโดยในพ้ืนที่ที่มีน้า ท่วมขงัซ้า ซากไดก้า หนดการใชป้ ระโยชน์ที่ดินเป็นพ้ืนที่อนุรักษ์
เพื่อเกษตรกรรมและชนบท โดยสามารถก่อสร้างอาคารไดบ้ างประเภทเท่าที่จา เป็นเท่าน้นั อย่างไรก็
ตามปัญหาผังเมืองที่มีอายุบังคับใช้ตามกฎหมายเพียง๕ปีและข้ันตอนการประเมินผลผงัเพื่อ
ปรับปรุงผังใหม่ต้องใช้เวลานาน เป็ นเหตุให้เกิดกรณีผังเมืองรวมเมืองบางพ้ืนที่หมดอายุลง จึง
เป็ นช่องทางให้เกิดการอนุญาตให้ก่อสร้างอาคารบางประเภทในพ้ืนที่รับน้า รวมท้งัมีการก่อสร้าง
อาคารกีดขวางทางน้า ประกอบกบั มีถนนและคันคลองชลประทานกีดขวางเป็นอุปสรรคต่อการ
ไหลของน้า ซึ่งกรมโยธาธิการและผงัเมืองไดศ้ึกษาจดั ทา มาตรการการแกไ้ขท้งัการใชแ้ละไม่ใช้
สิ่งก่อสร้าง โดยจากการตรวจสอบผลการด าเนินการพบว่า จังหวัดลพบุรี และส่วนราชการที่
เกี่ยวขอ้งไดร้่วมกันเร่งแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน โดยหากท้องถิ่นตลอดจนประชาชนในพ้ืนที่ เห็น
ประโยชน์ของผังเมือง ก็ จะต้องเร่งให้มีผังเมืองใช้บังคับโดยเร็ว และตรวจสอบปฏิบัติให้เป็ นไป
ตามผังเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อการใชป้ระโยชน์พ้ืนที่ซ่ึงอาจสร้างความเสียหายต่อเมืองโดยรวม
การแกไ้ขปัญหาเรื่องน้า ของประเทศจ าเป็ นต้องด าเนินการอย่างเป็ นระบบ ต้องมี
โครงสร้างองค์กรระดับชาติที่ก าหนดนโยบายการบริหารจัดการน้า ในองค์รวมท้งัประเทศ และ
ถ่ายทอดนโยบายลงสู่ ระดับเขตปกครอง คือในระดับ จังหวัด เมืองและชุมชนต่างๆ ผ่านทางระบบ
ผังประเทศ ผังภาค และผังเมืองรวมจังหวัด/เมือง/ชุมชน เพื่อก าหนดกิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดิน
(เกษตร /อุตสาหกรรม/ อยู่อาศัย) ให้สอดรับกับนโยบายการจดัการทรัพยากรน้า ตลอดจนมีการ
บังคับใช้กฎหมายที่อนุญาตก่อสร้างสิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมถึงการก่อสร้างระบบถนน สะพาน ให้
สอดรับกับสภาพปัญหาน้ าท่วม รวมท้ังขอ้ บัญญตัิท้องถิ่นต้องก าหนดรูปแบบอาคาร และห้าม
อาคารบางประเภท ก่อสร้างในพ้ืนที่ที่เสี่ยงภยัน้า ท่วมสูงและน้า ท่วมซ้า ซากและต้องมีการควบคุม
การขุดดิน ถมดิน ตามกรอบนโยบายที่ผังเมืองก าหนดไว้จึงจะสามารถแกไ้ขปัญหาเรื่องน้า ไดอ้ย่าง
เป็ นรูปธรรม ตรงกับปัญหาและมีความยงั่ ยนื
abstract:
ABSTRACT
Title : Preventing and Managing against Flood by using TownPlanning
Measures : case study in Lopburi Province
Field : Social -Psychology
Name: Mr.Kiatisak Chantra
In the past, Thailand did not prepare well enough to cope with a large flooding, such
as flood in 2011. Moreover, the expansion of many cities areas keep going into the floodplain
area without properly measures. Therefore, it’s time for the country should have a master plan to
control urban development, which cover the entire country, including flood management measure,
which shall reduce and prevent flood damage to communities and cities in the future.
This study has examined the city planning measure used as a tool in managing and
preventing of flooding in Thailand. Byselected case study in Lopburi, the province which located
in two river basins, the topography of the province compose of mountains and the valley, and
facing to flooding every year.This study have shown that town planning of Thailand have been
prepared at all levels and also included the issue of flooding in policy planning already. But the
problem is that a provincial comprehensive plan is applicable for only 22 provinces ,and still
need to prepare a drainage management plan to be fulfilled in all the provincial comprehensive
plan.
In this case, although the comprehensive plan of Lopburi is in progress ,It was
founded that the preparation of the draft comprehensive plan is consistent with the flooding in the
Chao Phraya River Basin, an area that has flooded repeatedly has been defined as land use for
agricultural and rural conservation area. Problem of the town plan is a legally enforceable only 5
years. Evaluation and steps to improve the new scheme takes a long time. Cause some areas of
the city comprehensive plan expires. It is , therefore , become a channel in some certain building
had been permitted to construct in the drainage area. Including the construction of water barriers,
such as highway and irrigation dike , becoming obstructions impede the flow of water. The
Department of Public Works and Town &country Planning , has study and prepare to both the
structure and non structure measures for Lopburi Flood Prevention System. From the results of the audit showed that Lopburi province and relevant government agencies have joined together to
rectify the problem according to the Town Planning measures . If local administration and people
in the area are well understanding the benefits of the city planning, that shall accelerate the
process of town planning to be used and enforced without delay to avoid the impact on land use,
which may damage the city as a whole.