เรื่อง: ผลกระทบจากการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ และการแข่งขันของประเทศไทยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยใช้การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานวงเงิน 2 ล้านล้านบาท เป็นกรณีศึกษา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว กล้วยไม้ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง ผลกระทบจากการลงทุนโครงสร้างพืนฐานต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ
และการแข่งขันของประเทศไทยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(AEC) โดยใช้การลงทุนโครงสร้างพืนฐานวงเงิน 2 ล้านล้านบาท เป็ น
กรณีศึกษา
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นางสาวกล้วยไม้ เทพหัสดิน ณ อยุธยา หลักสูตร ปรอ. ร่นที
ุ 78
งานวิจัยฉบับนี มีวัตถุประสงค์เพื<อศึกษาผลกระทบทางตรงและทางอ้อมของการลงทุน
โครงสร้างพืนฐานด้านคมนาคมขนส่งต่อเศรษฐกิจของประไทย และต่อการเพิ<มขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศไทยภายใต้ AEC โดยจะใช้โครงการการลงทุนโครงสร้างพืนฐานวงเงิน
7 ล้านล้านบาท ในปี 7=>?-7=7= เป็ นกรณีศึกษา และใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research)
จากกรณีศึกษา ผู้วิจัยพบวารายได้ประชากรและเศรษฐก ่ ิจไทยจะขยายตัวเพิ<มขึน โดย
เฉลี<ยปี ละ 0.5-1.0% ในช่วงระยะเวลา 7 ปี ของการลงทุน (ปี 2013-2020) ตามการใช้จ่ายของภาครัฐ
เป็ นสําคัญ ซึ<งจะส่งผลให้ภาคเอกชนเกิดความมันใจ และเพิ < <มการบริโภคและการลงทุน และจะ
ส่งผลต่อเนื<องให้เศรษฐกิจโดยรวมขยายตัวเพิ<มขึนเช่นกน (Crowding-in effect) ซึ<งเป็ นปัจจัย ั
สนับสนุนให้เกิดการขยายตัวของสังคมเมือง รวมทังเกิดเมืองศูนย์กลางการค้าและการขนส่งใหม่ๆ
ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี นครราชสีมา ชลบุรี และสงขลา
การลงทุน 2 ล้านล้านบาทจะก่อให้เกิดโอกาสทางธุรกิจในหลายธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจก่อสร้างและ
วัสดุก่อสร้าง ในส่วนของการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในเวที
การค้าอาเซียนและการค้าโลกนัน ผู้วิจัยพบวาความเชื<อมโยงด้านคมนาคมขนส ่ ่ง รวมไปถึงข้อตกลง
ระหวางประเทศต ่ ่างๆ จะนํามาซึ<งการเปลี<ยนแปลงของไทยอยางเห็นได้ชัด ประการแรก ไทยจะก ่ าว้
ไปเป็ นศูนย์กลางการขนส่งในภูมิภาค ซึ<งการพัฒนาทางหลวงระหวางประเทศที<สามารถเชื<อมต ่ ่อไป
ประเทศเพื<อนบ้านได้โดยรอบ จะสนับสนุนให้การขนส่งทางถนนต้องผานดินแดนไทยเป็ นหลัก ่
ประการที<สอง การขนส่งระบบรางในประเทศจะมีบทบาทมากขึน เพื<อลดต้นทุนโลจิสติกส์ และ
แกปัญหาจราจร ประการที<สาม การเชื<อมโยงการขนส ้ ่งจะทําให้ไทยสามารถขยายเครือข่ายการค้า
การลงทุนไปสู่จีนและอินเดีย และประการสุดท้าย การคมนาคมทางอากาศจะเติบโตจากการ
ขยายตัวของสายการบิน เนื<องจากการเปิ ดเสรีน่านฟ้ า การพัฒนาโครงสร้างพืนฐานและสิ<งอํานวย
ความสะดวกด้านการบิน ข
อยางไรก ่ ็ตามการลงทุนโครงสร้างพืนฐานต้องใช้ทรัพยากรเป็ นจํานวนมาก และมีผล
ต่อเนื<องกบภาครัฐและภาคเอกชนในวงกว้างและในระยะยาว ดังนั ั นหน่วยงานที<เกี<ยวข้องจึงควร
ตระหนักถึงความท้าทายต่างๆ เพื<อเตรียมมาตรการการรับมือที<เหมาะสม โดยผู้วิจัยเสนอแนะ
แนวทางในการดําเนินโครงการดังต่อไปนี
1. ให้ภาคเอกชนร่วมลงทุน (Public Private Partnership: PPP) เพื<อลดหนีภาครัฐ ทํา
ให้โครงการสามารถคืนทุนได้เร็วขึน และเพื<อเพิ<มประสิทธิภาพและความโปร่งใสในการบริหาร
2. ทยอยระดมเงินสําหรับการลงทุนตามแผนการเบิกจ่าย หรืออาจปรับเปลี<ยน
ระยะเวลาของการลงทุนให้ยาวขึนเพื<อกระจายการกู และเพื<อคงสัดส ้ ่วนหนีต่อ GDP ไม่ให้เพิ<มอยาง่
กาวกระโดด ้
3. ศึกษาการระดมเงินลงทุนผานช ่ ่องทางอื<นนอกจากการออกพันธบัตรรัฐบาล เช่น
การร่วมลงทุนโครงการโดยกองทุนพัฒนาโครงสร้างพืนฐานในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN
Infrastructure Fund: AIF) ซึ<งจัดตังขึนโดยธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB)
หรือศึกษาความเป็ นไปได้ในการร่วมมือกบธนาคารพาณิชย์ เพื<อจัดทําโครงการเงินกู ั โดยมีแหล ้ ่ง
เงินทุนจากเงินออมของประชาชนในประเทศ ซึ<งอาจมีต้นทุนตํ<ากวาการออกพันธบัตรรัฐบาล ่
4. ผลักดันโครงการที<รองรับระบบขนส่งมวลชนเป็ นการเร่งด่วน เนื<องจากจะเป็ น
ประโยชน์กบประชากรในวงกว้าง และช ั ่วยบรรเทาปัญหาการจราจรติดขัด
5. จัดตังหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการให้มีเจ้าภาพชัดเจน รวมทังจัดตังระบบ
ตรวจสอบ เพื<อสร้างความโปร่งใสในการลงทุน
6. ศึกษาผลกระทบทางสิ<งแวดล้อม สังคม และผลกระทบต่อชุมชนเดิมให้ละเอียด
โดยควรให้ประชาชนในพืนที<ได้มีส่วนเก
ี<ยวข้องตังแต่เริ<ม
7. ทํางานอยางใกล้ชิดร ่ ่วมกบกรมโยธาธิการและผังเมืองในการวางเส้นทางโครงการ ั
โครงสร้างพืนฐานต่างๆ เพื<อให้มีการจัดสรรที<ดินและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อยางเป็ นระเบียบ ่
8. ประชาสัมพันธ์ข่าวสารการดําเนินงานโครงการให้ประชาชนทัวไปได้ทราบ <
ข้อมูลที<ชัดเจนโดยใช้สื<อที<เข้าถึงง่าย และจัดให้มีช่องทางให้ชุมชนร้องเรียนในกรณีที<ได้รับความ
เดือดร้อน
abstract:
ABSTRACT
Title The impact of infrastructure investment on Thailand’s economic growth
and its competitiveness under the ASEAN Economic Community
(AEC), using the 2 trillion Baht infrastructure scheme as a case study
Field Economics
Name Ms. Kluaymai Devahastin Course NDC Class 26
A government’s infrastructure investments play a critically important role in the
country’s economic development. By employing a qualitative methodology and using Thailand’s
2 trillion Baht infrastructure investment scheme (2013-2020) as a case study, this research aims to
identify whether and how infrastructure investments would benefit Thailand’s economy and its
competitiveness under the ASEAN Economic Community (AEC).
Research results demonstrate that the investment scheme would enhance
connectivity among Thailand and neighboring countries, boost its economic growth by 0.5%-
1.0% per year, and generate 500,000 additional jobs during the implementation period (2013-
2020). Domestic logistics cost per GDP would be reduced by 2% through the modal shift from
ground to rail and water transportation. This investment scheme would spur urbanization
upcountry and create new hubs for trade and transportation. The construction services, building
materials, tourism, real estate, and retail sectros would see significant growth. The investment
scheme would also enable Thailand to become a regional transportation hub of the AEC and
expand its trade and investment network to China and India.
However, the government’s large borrowing would reduce domestic liquidity, raise
the public debt level, and necessitate higher fiscal discipline. These financial challenges can be
alleviated by employing the Public Private Partnership (PPP), extending the investment period to
smoothen debt borrowing profile and debt-to-GDP ratio, and exploring alternative channels such
as the Asean Investment Fund (AIF) developed by the Asian Development Bank (ADB).
Additionally, the researcher suggests that the government prioritize on the following initiatives
upon implementing the investment scheme: emphasize public transportation projects, conduct
detailed environmental and social studies, ensure appropriate compensation to the affected
population, work with the Department of Public Works and Urban Planning to assign appropriate
land zoning, and ensure transparency and good governace during and post investment.