Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานในชนบทของเวียดนาม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, Col. Nguyen Cong Sac
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานในชนบทของเวียดนาม ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั COL.NGUYEN CONG SAC หลักสูตร วปอ. รุ่นที่56 พ้ืนที่ในชนบทคือแหล่งการผลิตอาหารเพื่อการบริโภคของสังคมท้งัเป็นตลาดที่สา คญั ส าหรับสินค้าอุปโภค บริโภคของเขตเมือง ชนบทของเวียดนาม ถือเป็ นแหล่งแรงงานกว่า 70% ของ ท้งัประเทศและยงัเป็นพ้ืนที่ส่วนใหญ่ของทรัพยากร ที่ดิน แร่ธาตุสัตวป์่า ทะเล ดงัน้ันการพฒั นา ชนบทอยา่ งยงั่ ยนื มีผลกระทบอยา่ งมหาศาลกบัการคุม้ครองปกป้องสภาพแวดลอ้ มระบบนิเวศจาก การใช้ประโยชน์และการใชแ้รงงานในชนบทอยา่ งมีประสิทธิภาพ จึงเป็นแนวทางที่ทา ให้มนั่ ใจได้ ว่า นี่เป็ นการพัฒนาประเทศที่ยังยืนในระยะยาว ปัจจุบันผู้ท าวิจัย ด ารงต าแหน่งวิทยากรที่ สถาบันกลาโหมแห่งชาติของเวียดนาม ผู้ท าวิจัยเกิดและเติบโตในจังหวัด BacNinhพ้ืนที่ชนบท ของสามเหลี่ยมลุ่มแม่น้า แดง ดงัน้ันจึงได้ ประสบกบั ตนเองเกี่ยวกบัการพฒั นา ในพ้ืนที่ชนบทโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใชแ้รงงานในชนบทใน ประเทศเวียดนาม ในช่วงที่ผ่านมาพบว่าเป็ นงานเชิงกลยุทธ์ มีความส าคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ ผู้ท าวิจัยจึงตัดสินใจที่จะศึกษาหัวข้อดังกล่าว เอกสารที่ใชใ้นการศึกษางานวิจยัคร้ังน้ีได้จากขอ้ มูลเชิงปฏิบัติของจงัหวดั BacNinh และเอกสารจ านวนหนึ่งที่ได้รับการตีพิมพ์โดยกองสถิติ กระทรวงแรงงาน - สวัสดิการ และกิจการ สงัคม รวมท้งัผลงานวิทยานิพนธ, ์วิทยานิพนธ์ที่เขียนเกี่ยวกับเรื่องของแรงงานชนบทเวียดนามและ ประสบการณ์ของหลายประเทศในภูมิภาค ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ข้อเท็จจริงการใช้แรงงานใน ชนบทของเวียดนาม ในช่วงที่ผ่านมาถือเป็ นแรงงานที่มีประสิทธิภาพ แม้ว่าปัญหาหลายอย่างยังคงมี อยู่ และยังมีข้อบกพร่อง เช่น การว่างงานแรงงาน ความรู้ ทักษะ ฝี มือแรงงานยังต ่า โครงสร้างการใช้ แรงงานยงัไม่เหมาะสมโดยการใชแ้รงงานในพ้ืนที่ชนบทยงัคงอยู่ใน ระดบั ต่า การจัดแบ่งพ้ืนที่ ได้รับการยกเว้นไม่ได้เป็ นโครงสร้างที่สอดคล้องกัน จึงท าให้รายได้ของแรงงานในชนบทยังคงอยู่ ในระดับต ่า และเป็ นเหตุท าให้ชีวิตของผู้อาศัยในชนบทยังพบกับความยากล าบาก นอกจากเน้ือหาขา้งตน้ เอกสารการวิจยัน้ียงันา เสนอแนวทางแบบเฉพาะเจาะจงในการ แก้ไขปัญหาการใช้แรงงานในชนบท ที่ยังคงอยู่ เพื่อเป็ นการเอาชนะปัญหาในการใช้แรงงานใน ชนบทของเวียดนามในปัจจุบนั เอกสารน้ีถือเป็นหลกัการพ้ืนฐานที่รัฐบาลทอ้งถิ่นในทุกระดบัของ เวียดนามสามารถเอาไปอ้างอิงและใช้ในการจัดการเพื่อสร้างและพัฒนาเมืองของพวกเขาต่อไป

abstract:

Abstract Title: Ways to address labour force deployment problems in rural Vietnam Field: Social -Psychology Name : Colonel Nguyen Cong Sac Course: NDC Class 56 The land in rural Vietnam is the primary source of food consumed by the country and also serves as an important market for consumer products produced in urban areas. Rural Vietnam supplies more than 70% of the country’s entire work force as well as being the key sources of land and minerals, and is home to wildlife and marine life. Therefore, it is important to develop rural areas in a sustainable manner due to its impact on the conservation and protection of the environment and ecological systems. These factors require us to carefully harness these assets and deploy the rural labour force in the most effective manner to ensure that the country will develop sustainably in the long run. Presently, the researcher is a lecturer at Vietnam’s National Defence Academy. Born and raised in the rural province of Bac Ninh located along the Red River Delta, the researcher has firsthand experience about rural development, particularly on the topic of the deployment of rural labour force in Vietnam. The researcher became interested in studying this subject since many strategy papers on this topic have played a key role in developing the country’s economy. Documents that were studied in writing this research paper came from personal fieldwork conducted in the province of Bac Ninh, while other sources of information came from publications of Vietnam’s General Statistics Office and the Ministry of Labour, Invalids and Social Affairs, and theses related to rural labour forces in Vietnam and related experiences in many countries in the region. The results of this study conclude that the past deployment of Vietnam’s rural labour force has been effective. Nevertheless, many problems and mistakes continue to exist such as unemployment and low levels of knowledge, skills and workmanship. Structural problems remain inappropriate such as not fully deploying rural labour, and the allocation of areas exempted from industrial/infrastructure purposes is not always congruent with where people live. These factors collectively contribute to low income and lives of continued hardship in rural Vietnam. In addition to the aforementioned issues, this paper offers specific solutions that target problems encountered by rural labourers today. Hoping to overcome these problems, this paper will form the foundation for local governments at every level throughout Vietnam as a reference and a practical handbook in resolving and managing rural problems to build and develop our country.