เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาระบบขนส่งสาธารณะในแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี อดิศร์ งามจิตสุขศรี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการแกไขปัญหาระบบขนส ้ ่งสาธารณะในแหล่งท่องเทียว จังหวัดภูเกต
็
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู พล.ต.ต.อดิศร์ งามจิตสุขศรี หลักสูตร วปอ. ร่นที
ุ ๕๖
การวิจัยเรื อง “แนวทางการแก้ไขปัญหาระบบขนส่งสาธารณะในแหล่งท่องเทียว
จังหวัดภูเก็ต” มีวัตถุประสงค์เพือวิเคราะห์ปัญหาของระบบขนส่งสาธารณะทีได้รับผลกระทบ
มาจากการให้บริการแท็กซีป้ ายดําของพื7นทีศึกษา วิเคราะห์สาเหตุทีเกียวข้องในการแกไขปัญหาระบบ ้
ขนส่งสาธารณะของพื7นทีศึกษาเพือการเสนอแนวทางการพัฒนาระบบบริ การขนส่งสาธารณะ
เพือความมันคงทางอุตสาหกรรมการท ่องเทียวของประเทศ โดยได้ทําการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ
เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสําคัญทีมีความเก
ียวข้องกบระบบขนส ั ่งสาธารณะ
ในแหล่งท่องเทียวในจังหวัดภูเก็ต
ผลการวิจัยพบวา ปัญหาระบบขนส ่ ่งมวลชนในพื7นทีท่องเทียวจังหวัดภูเก็ตนั7นสามารถ
แยกได้เป็ น ๖ ปัญหาหลักๆ คือ ปัญหาด้านมาตรฐานการให้บริ การของรถแท็กซีป้ ายดํา ปัญหาด้าน
ความขัดแย้งจากการให้บริการรถแท็กซีป้ ายดํา ปัญหาการปักอาณาเขตพื7นทีทํากิน ปัญหาแท็กซีป้ าย
ดําแย่งผู้โดยสาร ปัญหาทีจอดรถหน้าหาดไม่เพียงพอ และปัญหาปัจจัยทางเศรษฐกิจทีผู้ให้บริการ
แท็กซีป้ ายดําไม่สามารถผลักตนเองเข้าสู่ระบบทีถูกต้องตามกฎหมายได้ ในส่วนของการวิเคราะห์
ถึงสาเหตุและความเชือมโยงของปัญหา พบวา มีสาเหตุหลัก ๆ ๔ สาเหตุ คือ สาเหตุด้านโครงสร้างพื ่ 7นฐาน
สาเหตุจากกลุ่มผู้มีอิทธิพลในเขตพื7นที สาเหตุจากการได้รับค่านายหน้าจากสถานประกอบการด้าน
การท่องเทียวและบริการ และสาเหตุจากด้านการจัดการนโยบาย
ข้อเสนอแนะสําหรับงานวิจัยนี7 คือ ควรจัดให้มีเจ้าภาพหลักในการดําเนินการแกไขปัญหา ้
โดยหน่วยงานทีเป็ นเจ้าภาพหลักจะต้องมีศักยภาพมากพอทีจะต่อสู้กบอิทธิพลของการเมืองท้องถิ ั น
อีกทั7งจะต้องบูรณาการกาลังและความร ํ ่วมมือจากหน่วยภาครัฐทีเกียวข้องทุกหน่วยงานและภาค
ประชาชน องค์กรเอกชนทุกภาคส่วนเพือร่วมกนแก ั ไขปัญหา มาตรการในการแก ้ ไขมี ๒ ประเภท ้
คือ มาตรการในการแกไขปัญหาโดยเร ้ ่งด่วน เพือเป็ นการควบคุมหรือยับยั7งไม่ให้ปัญหาและผลเสียหาย
ทีเกิดขึ7นลุกลามออกไปจนสร้างความเสียหายให้กบอุตสาหกรรมการท ั ่องเทียวของประเทศมากกวา่
ทีเป็ นอยู่ในปัจจุบันอีกทั7งยังเป็ นการเร่งสร้างความเชือมันในความปลอดภัยให้กับนักท่องเทียว
ชาวต่างชาติในการทีจะเดินทางเข้ามาท่องเทียวภายในประเทศไทย อีกมาตรการหนึง คือ มาตรการ
ในการแกไขปัญหาในระยะยาว เพือเป็ นการขจัดปัญหานี ้ 7ให้หมดสิ7นไปในระยะยาว
abstract:
ABSTRACT
Title Solution Approaches for Public Transportation System in Tourist Attractions
in Phuket
Field Economic
Name Police Major General Adis Ngamchitsuksri Course NDC Class 56
The objectives of the research on “Solution Approaches for Public Transportation
System in Tourist Attractions in Phuket” are to: 1. analyze public transportation system problems
caused by illegal taxi service in the studied area and 2. analyze causes related to solutions
approaches for public transportation system problems in the studied area in order to propose
guidelines of public transportation system development for security in the country’s tourism
industry. Data collection in the qualitative research was obtained from in-depth interview with
significant sources involving in public transportation system in tourist attractions in Phuket.
Research findings were that public transportation system problems in tourist attractions
in Phuket could be divided into 6 major problems: illegal taxi service standard, conflicts of
illegal taxi service, demarcation of land use areas, customer snatch of illegal taxi drivers,
inadequate beachfront parking areas and economic factors hindering illegal taxi providers from
entering into legal service system. In terms of cause and linkage analysis of the problems, there
were four major causes: infrastructure, influential persons in the areas, receipt of commission
from tourism and service providers and policy management.
Suggestions arising from the research were that a leading organization having
enough potential against political influence in locality should be designated to carry out solutions
and it should integrate power and cooperation from relevant public and private agencies and
people in solution approaches. Corrective measures were divided into two phases: 1. urgent
corrective action which is aimed to control or prevent current problems and damages spreading
and causing further damages to the country’s tourism industry and hastily establish foreign
tourists’ confidence in tourism safety in Thailand, and 2. long-term corrective action which is
aimed to eradicate the problems in the long run.