เรื่อง: การพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อสนับสนุนการบริหารราชการของกระทรวงมหาดไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง การพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพÉือสนับสนุนการบริ หารราชการของ
กระทรวงมหาดไทยในการเขา
้สู่ประชาคมอาเซียน
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย นายสุรศกัดÍิ เจริญศิริโชติ หลกัสูตร วปอ. รุ่นท 56 ีÉ
การวิจยันีÊเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ มีวตัถุประสงคเพื ์ Éอศึกษาบทบาทและแนวทางของ
กระทรวงมหาดไทย ในการสนบั สนุนการพฒั นาจงัหวดั/กลุ่มจงัหวดัตÊงัแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 –
2556 ซึÉงเป็นช่วงเตรียมความพร้อมเขา้สู่ประชาคมอาเซียน โดยวิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรคและ
ขอ้จาํกัดของหน่วยงาน และเสนอแนวทางในการพฒั นา เพืÉอให้จงัหวดั/กลุ่มจงัหวดั เป็นเครืÉองมือ
สนบั สนุนการบริหารราชการเชิงพÊนที ื Éของหน่วยงาน ในการเขา้สู่ประชาคมอาเซียนเพÉมมากขึ ิ Êน
ผลการศึกษาพบว่า การสนบั สนุนการพฒั นาจงัหวดั/กลุ่มจงัหวดัค่อย ๆ มีแนวทางชดัเจน
เขม้ขน้ขÊึนตามปีงบประมาณมาตามลาํดับ โดยหน่วยงานกําหนดเป็ นยุทธศาสตร์สําคัญ และแปลง
ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบตัิในหลากหลายรูปแบบ ทÊงัในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ทÊงมิติภายในและ ั
ภายนอก ตลอดจนมีกลไกการขบั เคลืÉอนทีÉชดัเจน พร้อมกบั สนบั สนุนงบประมาณเฉพาะเพืÉอส่งเสริม
การบูรณาการการพฒั นาเชิงพÊืนทีÉอีกดว้ยแต่ทว่าการดาํ เนินการของหน่วยงานเป็นแบบบนลงล่างเป็น
หลกั ทัÊงนีÊพบวา่การดาํ เนินการมีปัญหาอุปสรรคและขอ้จาํกดัทÉีวา่ หากรัฐบาลไม่ให้ความสําคญั การ
ดาํ เนินการก็จะขาดแนวทางทีÉชัดเจน กระทรวงมหาดไทยเป็นเพียงหน่วยงานประสานงาน ไม่ได้เป็น
เจา้ภาพหลกัในการจดั ทาํแผน การขาดเจา้ภาพหลกัการดาํ เนินการในพืÊนทีÉ งบประมาณทีÉจดั สรรให้
จงัหวดั/กลุ่มจังหวดั มีจาํกัดมาก และโครงสร้างของกลุ่มจงัหวดัขาดการบริ หารงานแบบบูรณาการ
หน่วยงานต่าง ๆ มุ่งปฏิบตัิงานเชิงภารกิจเป็นหลกั และขาดการยอมรับระหวา่ งกนัของผบู้ริหารจงัหวดั
แนวทางการพัฒนาเพืÉอให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดสนับสนุนการบริ หารงานของ
กระทรวงมหาดไทยแบ่งไดเ้ป็น Ś ช่วงคือระยะสÊัน (ř ปี ) และระยะยาว (ś-ŝ ปี)โดยจะพฒั นา śดา้น
คือ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และด้านโครงสร้างกลไก ในระยะสัÊน ควรสร้างการตระหนักรู้
เพิÉมขึÊนให้บุคลากร ควรปรับเกลีÉยการจดั สรรและบูรณาการงบประมาณทÉีเกÉียวข้อง และควรจดั ตÊงั
คณะกรรมการขบั เคลืÉอนในระดบั พÊืนทีÉ ในระยะยาว ควรสรรหาบุคลากรเพิÉมเติม หน่วยงานต่าง ๆ ควร
กาํ หนดเป็นยุทธศาสตร์สําคญั และควรส่งเสริมให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ทÊงนี ั Ê ควรมีการ
ทบทวนการรวมกลุ่มจงัหวดัให้เหมาะสม ให้ความสําคญั กบัการแต่งตÊงัผูบ้ริหารทีÉมาเป็ นหัวหน้ากลุ่ม
จงัหวดั และใหม้ีการมอบอาํนาจให้กบัผูว้่าราชการจงัหวดัเพÉือเป็นเจา้ภาพขบัเคลÉือนยุทธศาสตร์ในพืÊนทีÉ
abstract:
ABSTRACT
Title The Development of province & province cluster to support the administration
of Ministry of Interior towards ASEAN Community
Field Politics
Name Surasak Chareornsirichot Course NDC Class 56
The objectives of this research were to study role and performance of Ministry of
Interior (MOI) to promote action of province & province cluster towards ASEAN Community
(AC); to analyse problems and restrictions of the Ministry to promote the actions; and to suggest
how to develop the performance for area-based administration support of the Ministry. The scope
of research based on the role and performance of the Ministry in three fiscal years (2010-2012).
The research method used in the study included documentary research and in-depth interview.
Results showed that MOI had had gradually clearer process in fiscal year 2010, 2011,
and 2012 respectively. Not only was the actions towards AC defined as one of main strategic issues;
but the various forms of implementation were also operated at both central and regional level, in
internal and external dimension of the MOI. A mechanism, ASEAN Committee of MOI was
created, and budget was specially allocated to province & province cluster for area-based action
integration. However, all associated actions of MOI were top-down. There are also four problems
occurred; it lacked of national guidelines at first glance; MOI had been only a coordinating agency,
not been a main host; budget allocation supporting towards AC actions was restricted; and structure
of province cluster was lacked of integration and some governors, who were head of province
clusters, were not recognised among others.
To develop the performance of province & province cluster to support MOI’s responses
towards AC, short-term and long-term proceedings should be done in three dimensions: personnel,
budget, and mechanism. Civil society should play critical role in strengthening sustainable actions
towards AC especially at local level. In addition, structure of province cluster should be rearranged.
Work experience and seniority of governors should be taken into consideration in order to transfer an
appropriate governor to be a head of provincial cluster. Public agencies located at provincial level should
give their authority to governors for making AC and other strategies more possible in the area.