Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การส่งผู้หนีภัยการสู้รบจากเมียนมาร์กลับประเทศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สิงคิ์ วิเศษพจนกิจ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก – ๑ บทคัดย่อ เรืÉอง การส่งผหู้ นีภยัการสู้ รบจากเมียนมาร ์ กลบั ประเทศ ลกัษณะวชิา ยทุ ธศาสตร ์ ผวู้ิจยั นายสิงคิÍ วิเศษพจนกิจ หลกัสูตร วปอ.รุ่นทีÉ๕๖ ผูห้ นีภยัการสู้รบจากเมียนมาร์ในประเทศไทยเป็นเรÉืองทีÉอยู่ในเวทีประชาคมระหว่าง ประเทศมาตัÊงแต่ปีพ.ศ.๒๕๒๗ ทีÉรัฐบาลเมียนมาร์ในขณะนัÊนปราบปรามกองกาํลงัชนกลุ่มน้อยบริเวณ พืÊนทีÉชายแดนเมียนมาร์ – ไทยจนทาํให้ราษฎรเมียนมาร์อพยพหนีภัยการสู้รบพาํนักอยู่ในพÊืนทีÉพกัพิง ชัวคราวบริเวณพื É ÊนทีÉชายแดนไทย – เมียนมาร์ ๙ แห่ง ๔ จงัหวดั จาํนวนประมาณกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ คน การดาํเนินการแกไ้ขปัญหาผูห้ นีภยัการสู้รบจากเมียนมาร์ในช่วงเวลาทีÉผา่ นมามีนโยบายและ แนวทางทีÉชดัเจน อาทิมาตรการการควบคุม ดูแลรวมถึงการให้ส่วนราชการไทยร่วมมือกบัองค์กร ระหว่างประเทศคือ สํานักงานขา้หลวงใหญ่ผูล้Êีภยัแห่งสหประชาชาติ(UNHCR) มาตรการดูแล ดา้นความมนÉัคงและปลอดภยับริเวณชายแดนใหฝ้่ายทหารร่วมกบัฝ่ายปกครองดาํ เนินการ ส่วนการ แก้ไขปัญหาทÉีประเทศตน้ เหตุแห่งปัญหาให้ส่วนราชการไทยทุกระดับชÊันและองค์การระหว่าง ประเทศเจรจากับรัฐบาลเมียนมาร์ซÉึงในเรืÉองการเจรจาดังกล่าวไม่มีผลคืบหน้า ดังนÊันการ ดาํ เนินการต่อผหู้ นีภยัการสู้รบจากเมียนมาร์จึงมีนÊาํหนกั ส่วนใหญ่อยูท่ ีÉการดูแลในประเทศไทย การแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยการสู้รบจากเมียนมาร์ทีÉมีผลยังยืนและเป็ นรู ปธรรม É (DURABLE SOLUTIONS) จาํ เป็นต้องมีความร่วมมือจากประเทศต้นเหตุแห่งปัญหาดงัเช่นการ แกไ้ขปัญหาผอู้พยพชาวอินโดยจีนในประเทศไทยเมืÉอทศวรรษทีÉ๗๐ โดยประเทศตน้ เหตุมีหน้าทีÉทีÉ จะตอ้งรับผิดชอบประชาชนของตนและนาํกลบั สู่ภูมิลาํ เนาโดยปลอดภยั ทÊงนี ั Êตอ้งมีการดาํ เนินการ ตามขอ้ปฏิบตัิทีÉประชาคมระหวา่ งประเทศใหค้วามสาํคญั และยดึเป็นหลกัการ สภาพการณ์ทางการเมืองในเมียนมาร์ตัÊงแต่ต้นปี๒๕๕๔ ทาํให้ไทยและองค์การ ระหว่างประเทศมีความหวงัทีÉจะทาํให้สถานการณ์อพยพยา้ยถิÉนฐานทีÉยืดเยืÊอ (PROTRACTED SITUATION) สิÊนสุดลง อย่างไรก็ตาม กระบวนการส่งผู้หนีภัยการสู้รบจากเมียนมาร์ยงัมี รายละเอียดมากมายทีÉตอ้งใช้เวลาทีÉยาวนานพอสมควร การศึกษาในเรืÉองนีÊจึงเป็นการพิจารณาปัจจยั ทีÉจะเกÊือหนุนในการส่งกลับรวมถึงรูปแบบความร่วมมือ ๓ ฝ่ าย คือ ไทย – เมียนมาร์ – องค์การ ระหวา่ งประเทศ เพืÉอเป็นการเตรียมความพร้อมสําหรับกระบวนการส่งกลบั ทีÉจะเกิดขÊึนในอนาคต โดยการศึกษาวจิยัจากเอกสารราชการ เอกสารงานวจิยัต่าง ๆ เกีÉยวกบั เรÉืองนีÊก – ๑ การทีÉประเทศเมียนมาร์มีการปรับตวัทางดา้นประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนจนเป็น ทีÉยอมรับของประชาคมระหวา่ งประเทศทาํให้ประเทศไทยสามารถแกไ้ขปัญหาผูห้ นีภยัฯไดอ้ย่างมี ผลเป็ นรูปธรรมและยังÉ ยืนได้จึงสมควรมีการกาํหนดแนวทางดาํ เนินการเพืÉอเตรียมการส่งผหู้ นีภยัฯ กลบั ประเทศได้โดยสํานักงานสภาความมนÉั คงแห่งชาติชÊีแจงรัฐบาลเรืÉองความสําคญั และความ จาํ เป็นของการส่งผูห้ นีภัยฯ กลับประเทศเมียนมาร์และเสนอแนนโยบาย/ยุทธศาสตร์ในการ ดาํ เนินการ เพÉือให้รัฐบาลให้ความเห็นชอบพร้อมทัÊงมอบหมายให้สํานักงานฯ จดั ทาํแนวทาง ส่งกลับ ทัÊงนีÊจะมีการจดั ตÊังคณะกรรมฝ่ายไทยเป็นฝ่ายอาํ นวยการส่งผู้หนีภยัฯ กลับประเทศ รวมทัÊงจดั ตÊงกลไกสามฝ่ าย ( ั TRIPARTITE) ประกอบดว้ยฝ่ายเมียนมาร์UNHCR และฝ่ายไทยใน การอาํนวยการส่งผหู้ นีภยัการสู้รบจากเมียนมาร์กลบั ประเทศ ซÉึงเป็นลกั ษณะเดียวกนักบักลไกสาม ฝ่ายในการส่งผอู้พยพอินโดจีนกลบั ประเทศโดยทÊงัสามฝ่ายจะร่วมกนัอาํนวยการและประสานงาน เพืÉอดาํ เนินกระบวนการส่งกลบัอยา่ งสอดคลอ้งกนั (นายสิงคิÍ วเิศษพจนกิจ) นกัศึกษาวทิยาลยัป้องกนัราชอาณาจกัร หลกัสูตร วปอ. รุ่นทÉี๕๖ ผวู้จิยั

abstract:

ABSTRACT Tile MYANMAR DISPLACED PERSONS REPATRIATION FIELD STRATEGY NAME MR. SING VISESPOCHANAKIT BACKGROUND OF THE PROBLEM Thai Government has allowed the Myanmar displaced persons, who life from fighting between the Myanmar troops and the minority armed forces, to stay temporary in the shelter along the western border of Thailand for almost 30 years. The Thai authorities, the international organization and the NGOs has provided food, shelter and medical care for them and let them stay to stay in 9 shelters in Mae Hong Son , Tak , Ratchatburi and Kanchanaburi. Thailand wishes to facilitate them to go back home when the situation in Myanmar Border Areas are safe enough for them to stay and earn their livings. The situation still remained UNSAFF and Thailand has to share responsibilities with the international community in taking care of these people. Recently the Myanmar Government has initiated national Reconciliation Plan and Promote Democracy that would enable Thailand and Myanmar along with the international organizations to Repatriate the Myanmar displaced persons to their hometown. This research focuses on the Thai Government policy toward the problems of Myanmar displaced persons and other research on this topic and also on the resent Myanmar political situation and other relevant conditions that would facilitate such repatriation. The story recommends that The office of the National Security Council summits the repatriation plan the cabinate to get approval as to set up a tri partite mechanism to facilitate the repatriation consists of Thailand or Myanmar and the United Nations of high commissioner for refugees (UNHCR) and also a preparation committee presided by the secretary general of The National Security Council of The Permanent Secretary of the Ministry of interior to Facilitate the repatriation which is the Durable solution to The Myanmar Displaced persons in Thailand.