Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนกับบทบาทของมหาอำนาจด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจในห้วงเวลาปี 2017-2026

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, Col. Ngethsovann Arundeth( Cambodia)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การศึกษาความสัมพนัธ ์ ระหวา่ งประเทศของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้กบั บทบาทของมหาอา นาจดา ้ นความมนั่ คงและเศรษฐกิจใน ห้วงเวลาปี 2017-2026 ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วจิัย Col. Ngethsovann Arundeth หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่60 การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อศึกษา บทบาทปัจจุบันของประเทศ มหาอา นาจจีน สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ดา้นความมนั่ คงและเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเอเซียตะวนัออก เฉียงใต้และเสนอแนวทางการวางความสัมพนัธ์ระหวา่ งประชาคมอาเซียน(ASEAN) กบั ประเทศ มหาอ านาจ จีน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่ นในห้วงเวลาปี 2017-2026 ผลการวิจยัพบวา่ การเติบโตของ จีนรวมท้งัอินเดีย เกาหลีใต้อาเซียน และญี่ปุ่น จะทา ให้ศตวรรษที่21 เป็น “ศตวรรษของเอเชีย แปซิฟิ ก” บดบังรัศมีมหาอา นาจสหรัฐฯมหาอา นาจเก่าและใหม่มีการแข่งขันและต่อสู้กันอยู่ ตลอดเวลา รูปแบบของความร่วมมือและความขดัแยง้จึงสามารถเปลี่ยนแปลงไดต้ลอดเวลาข้ึนอยู่ กบั การตดั สินใจของผูน้ าของมหาอา นาจกลุ่มต่างๆ ในปัจจุบนั และอนาคต การผงาดข้ึนมาของ อาเซียน กา ลงัจะทา ให้อาเซียนกลายเป็นแกนกลางของภูมิภาคเป็นหลกัของความสัมพนัธ์ระหวา่ ง ประเทศ ที่มหาอ านาจจะตอ้งเอามาพิจารณาในการกา หนดแนวทางปฏิบตัิต่อภูมิภาค จีนในยุคของประธานาธิบดีสีจิ้นผิง ที่มุ่งตอกย้า ความเป็นปึกแผ่นในประเทศควบคู่ กบัการเป็นมหาอา นาจในการเมืองโลกสหรัฐฯรู้สึกว่าการลงทุนดา้นความมนั่ คงในอาเซียนน้ัน ไม่ไดผ้ลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่คุม้ค่าแต่ประเทศที่ได้รับผลประโยชน์คือประเทศอาเซียน และ จีน สหรัฐฯปัจจุบนั ไดท้ บทวนการลงทุนที่สหรัฐฯไดร้ับผลประโยชน์ไม่คุม้ค่า ปัญหาทะเลจีนใต้ จะเป็นข้ออ้างที่ดีในการที่สหรัฐฯจะเพิ่มบทบาททางทหารในภูมิภาคน้ีอาเซียนเป็นหน่ึงใน ยุทธศาสตร์หลักของนโยบายต่างประเทศญี่ปุ่น อาเซียนเป็นศูนยก์ลางของความร่วมมือระดับ ภูมิภาคของเอเชียตะวันออก ความสัมพนัธ์ทางเศรษฐกิจการคา้การลงทุน การเมืองและความมนั่ คง ที่ญี่ปุ่นมีกับอาเซียน ได้พัฒนาต่อเติมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศท้ังในระดับทวิภาคี (bilateralism) และระดับพหุภาคี (multilateralism) เรื่อยมา จุดยืนของจีนอาจนา ไปสู่ความขดัแยง้ยิ่งข้ึนในทะเลจีนใต้ตลอดจนความแตกแยกใน ประชาคมอาเซียน การวางบทบาทความสัมพนั ธ์กบั จีนจะแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศของ อาเซียน โดยประเทศที่มีพรมแดนทางบกใกล้ชิดกับจีน อย่างพม่าลาว กัมพูชา และไทย เรื่องข น่านน้า ในหมู่เกาะสแปรตลียอ์ าจไม่ใช่เรื่องใหญ่นกั เพราะไม่เกี่ยวขอ้งกบั ประเทศเหล่าน้ีโดยตรง ความเติบโตทางเศรษฐกิจอาจส าคญั กว่า แต่ส าหรับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เป็นหมู่เกาะ เช่น ฟิลิปปินส์อินโดนีเซีย มาเลเซีย บรูไน สิงคโปร์หรือมีพรมแดนทางทะเลใกลช้ิดอย่างเวียดนาม ปัญหาน่านน้า เรื่องหมู่เกาะสแปรตลียเ์ป็นเรื่องที่ใหญ่อาเซียนควรดา เนินในแนวทาง 1.ส่งเสริม สนบั สนุนการมีผลประโยชน์ร่วมกนั (Shared National Interests) 2.ความสมดุลแห่งความสัมพนัธ์ (Balancing Relations)และ3.นโยบายสายกลาง (Middle Path Policy) ซ่ึงสามารถดา เนินการได้ท้งั รูปแบบทวิภาคี และรูปแบบพหุภาคี

abstract:

Abstract Title The study of relationship between ASEAN and the security and economy superpower nations during the year 2017-2026 Field Strategy Name Col. Ngethsovann Arundeth Course NDC Class 60 The research' s objectives are to study current roles in Southeast Asia of the superpower nations, namely the People's Republic of China, the United States and Japan, in security and economy aspects, as well as propose the approach to lay relationship between ASEAN and those powerful nations during the year 2017-2026. The developmentof China including India, South Korea, Asean and Japan will make the 21 century as century of Asia-Pacific overshadowing of the influence of United States. The old and new Superpowers have competed all the times, depending of the decisions of leaders of the powerful countries, both now and in the future. In terms of international relations the rising of Asean can make it as the core of the regional structure that the Superpowers must bring into consideration of their conducts toward the region. China under the era of President Xi Jinping has emphasized the unity of country along with being the world Superpower. Presently the U.S. considers the security investment in Asean has not been worth. The current problem in South China Sea is the good pretext for the increasing military role of U.S. in Southeast Asia. In Japanese foreign policies, Asean has been one of its core strategyof East Asia cooperation that has continuously developed both in the bilateral and multilateral forms. The standpointsof China in South China Sea can escalate into conflicts as well as creating the disunity in Asean. The relations with China of each Asean member countries are different due to their different national interests. The countries that have land borders adjacent to China like Myanmar, Laos, Cambodia and Thailand, the problem in the Spratly islands is not vital because they do not involved directly, but the economic growth is more important for them. But the countries which are archipelago like the Philippines, Indonesia, Malaysia, Brunei, Singapore, and the countries that have maritime border like Vietnam, the problem in the Spratly islands is so vital to them. Asean should pave the policies as follows: 1. Enhancing shared national interests, 2. Conducting balancing relationships and 3. Having the middle path policies that can proceed both in bilateral and multilateral forms.