เรื่อง: แนวทางที่เหมาะสมในการผลิตและการใช้เอทานอลเป็นพลังงานทดแทน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อุกฤษฏ อัษฎาธร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางที่เหมาะสมในการผลิตและการใช้เอทานอลเป็นพลังงานทดแทน
ของประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย ดร.อุกฤษฏ์ อัษฎาธร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายการส่งเสริมการผลิตและการใช้เอทานอล
เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงของประเทศไทย และศึกษาผลกระทบของนโยบายการส่งเสริมการผลิตและการใช้
เอทานอลที่มีต่อเกษตรกรตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อน าไปสู่การเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมใน
การผลิตและการใช้เอทานอลเป็นพลังงานทดแทนของประเทศไทย ซึ่งเป็นการวิจัยเฉพาะผลผลิต
ประเภทอ้อยเท่านั้นไม่ครอบคลุมถึงผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่
ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากการวิจัยเชิงเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงเจาะลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านเอทานอล
จ านวน 6 ท่าน
ผลการวิจัยพบว่านโยบายเอทานอลของประเทศบราซิล ประเทศสหรัฐอเมริกาและ
ประเทศไทยให้ความส าคัญกับการผลิตและการใช้พลังงานทดแทนภายในประเทศ เพื่อลดการพึ่งพา
การน าเข้าน้ ามันจากต่างประเทศ โดยนโยบายส่งเสริมการผลิตและการใช้เอทานอลของประเทศไทย
ช่วยสร้างมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรและเอื้อประโยชน์ต่อเกษตรกรชาวไร่อ้อยอย่างแท้จริง และ
ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตและการใช้เอทานอลให้เป็นไปตามเป้าหมายการใช้เอทานอลในปี
พ.ศ. 2579 ที่ 11.3 ล้านลิตรต่อวัน ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ.
2558-2579 (AEDP 2015)
จากผลการวิจัยข้างต้นจึงมีข้อเสนอแนะดังนี้1. การด าเนินการตามนโยบายส่งเสริมการ
ผลิตและการใช้เอทานอลของประเทศไทยควรมีการก าหนดเป้าหมายที่ชัดเจนของแต่ละช่วงเวลา
(3-5 ปี) เพื่อให้การด าเนินงานของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องประสบผลส าเร็จ 2. ควรปรับลดชนิดน้ ามัน
แก๊สโซฮอล์ อี 10 ให้เหลือเพียงชนิดเดียว เพื่อส่งเสริมให้น้ ามันแก๊สโซฮอล์ อี 20 เป็นน้ ามันพื้นฐาน
3. ควรปรับการบริหารจัดการกองทุนน้ ามันเชื้อเพลิงให้มีเสถียรภาพ และ 4. ในอีก 5-10 ปีข้างหน้า
ประเทศไทยควรมีสัดส่วนการใช้เอทานอลผสมในน้ ามันเบนซินไม่ต่ ากว่า 20% ทั้งนี้รัฐบาลควรเพิ่ม
ประสิทธิภาพภาคการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่ของวัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลเพื่อให้เพียงพอต่อ
ความต้องการใช้ภายในประเทศทั้งในอุตสาหกรรมอาหารและพลังงานทดแทน
abstract:
ข
Abstract
Title The Efficient Way for Ethanol Production and
Consumption as Renewable Energy of Thailand
Field Science and Technology
Name Ugrit Asadatorn, Ph.D. Course NDC Class 60
This research aims to examine the ethanol production and consumption
policy in Thailand, to analyze the effect of the policy on Thailand’s cane growers
from past to present, and to propose the efficient way for the ethanol production
and consumption as renewable energy of Thailand. The scope of this research is
limited to sugarcane as a raw material. This qualitative research collected data from
analyzing reliable documents research and interviewing six professionals in Thailand
ethanol industry.
The results reveal that the policy of Brazil, United States of America and
Thailand focus on producing and consuming domestic renewable energy in order to
reduce fuel import substitution. In Thailand, ethanol policy certainly supports the
value-added quality to agricultural products, and improves the livelihood of cane
growers. Additionally, Thailand has potential for achieving the goal of 11.3 million
litres per day in 2036 as presented in Alternative Energy Development Plan (AEDP
2015).
However, there are four aspects to be concerned; 1. to plan a short-term
goal (3-5 years) for developing ethanol industry in Thailand effectively, 2. to restrict
type of Gasohol E10, and promote Gasohol E20 as base fuel, 3. to stabilize the
operation of Oil Fund, and 4. to support ethanol blend rate of 20% within 5-10 years.
Furthermore, development of modern farming is necessary for enhancing yield per
rai of raw materials, in order to support the domestic demand in both food and
renewable energy industry.