เรื่อง: การบริหารจัดการน้ำสู่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืนตามแนวทางพระราชดำริ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเนื่องมาจากพระราชดำริอำเภอร่องคำ-อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว อารยา ภูพานิช
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การศึกษาวิจัย รูปแบบการบริหารจัดการน้้าสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ
ชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อัน
เนื่องมาจากพระราชด้าริ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางสาวอารยา ภู่พานิช หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการน้้าน้าไปสู่การ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน โดยประเมินศักยภาพของพื้นที่ ความพร้อมของประชาชนในพื้นที่
และประเมินการเปลี่ยนแปลงให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและมีความสุข เกิดรูปแบบการ
บริหารจัดการทรัพยากรอย่างทีมีประสิทธิภาพ เป็นการพัฒนาเชิงพื้นที่ (Area based) แบบ องค์
รวม แก้ไขปัญหาทุกมิติของชุมชนให้สามารถบริหารจัดการตัวเองได้อย่างยั่งยืนและมีภูมิคุ้มกัน
ตัวเองในชุมชน เป็นการท้างานแบบบูรณการความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และ
ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม ตั้งแต่ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ และลงมือท้า
การวิจัยนี้ ด้าเนินการวิจัยโดยศึกษาขั้นตอนการพัฒนาเชิงกระบวนการ โดยยึดโยง
แผนการพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์เข้ากับแผนการพัฒนาตามนโยบายของภาครัฐ เชื่อมโยง
กับการพัฒนาเชิงเทคนิคแบบองค์รวม ตั้งแต่การบริหารจัดการเรื่องน้้าสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ
ชุมชนอย่างยั่งยืน โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่อันเกิดจากการพัฒนาระบบน้้า และต่อ
ยอดเรื่องการใช้ประโยชน์จากกิจกรรมด้านการเกษตร ประมง ปศุสัตว์ น้าไปสู่การจัดการ
กิจกรรมต่างๆ ในพื้นด้วยตนเองอย่างยั่งยืน
ผลวิจัยจากกรณีศึกษา พบว่า สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดใน
เรื่องการน้าน้้าไปใช้ประโยชน์ กล่าวคือ เมื่อมีการกักเก็บน้้าได้และสร้างระบบกระจายน้้าให้ถึง
แปลงแล้ว เกษตรกรในพื้นที่เริ่มมีการปรับเปลี่ยนวิถีการประกอบอาชีพทางการเกษตรให้มีความ
หลากหลาย มากขึ้นจนสามารถอยู่รอดในระดับครัวเรือนแล้วจึงน้าไปสู่การรวมกลุ่มระดับชุมชน
รวมกลุ่มเพื่อผลิต ในรูปแบบวิสาหกิจชุมชนและสหกรณ์ตามล้าดับขั้น ใช้การแก้ปัญหาแบบองค์
รวม คือสร้างการรับรู้และเข้าใจปัญหาที่แท้จริง หาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน โดยจะต้องแก้ไข
ปัญหาได้ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งการแก้ปัญหาแบบมีส่วน
ร่วมทั้งภาคประชาชน และหน่วยงานต่างๆ มองเห็นผลดีผลเสียจากการพัฒนา และด้าเนิน
แผนงานภายใต้เงื่อนไขที่ก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันทุกฝาย ภายใต้การวัดผลที่ตอบโจทย์ปัญหา
และความต้องการของชุมชน ความคุ้มค่าจากการลงทุน และน้าไปสู่ควายั่งยืนที่ชุมชนสามารถ
บริหารจัดการได้ด้วยตนเอง
abstract:
ABSTRACT
Title Research of a Water Management Methodology for Sustainable
Community Economy Development through Case Study: Royally
Initiated Kaem Ling (Monkey Cheek) Project at Nhong Lerng Peuy
Field Economics
Name Miss Araya Phuphanich Course NDC CLASS 60
This research aims to study water management methodology for
propelling the community economy through an assessment of area potential, the
readiness of local people, and adjustments for improved life quality and happiness
for the local inhabitants, which can lead to efficient resource management. It features
holistic area-based development and problem-solving in every dimension to ensure
the community manages itself sustainably and independently, with comprehensive
collaboration by all segments through participation in activities that include thinking,
planning, deciding, and doing.
The research was conducted with a study of process-based development
procedures linking the Area-based Rural Development Program to the development
plan under the state policy and integrated technical development, ranging from
water management to sustainable community economy development. It involved the
study of changes to areas as a result of water system development and the further
use of agriculture, fishery, and livestock affairs to conduct other activities in local
areas independently in a sustainable manner.
According to the case study results, significant changes were witnessed in
the utilization of water. In other words, once the water was successfully retained and
the water distribution system made available in farming plots, local farmers began to
adopt enhanced agricultural options to ensure they are viable at the household
level. This resulted in the integration of community-level clusters and their
development into community enterprises and cooperatives for production purposes.
Through this approach, the local inhabitants were able to solve problems in a
comprehensive manner, ranging from boosting awareness to a profound
understanding of the problems in finding common ways to cope with them. Since the
problems must be addressed in their environmental, economic, and social
dimensions, participation by the civil sector and various agencies is required as they
can consider the pros and cons of the development plan and implement it under
circumstances beneficial to all parties. In addition, a results evaluation can be made
to ensure that the problems and demands of the community and investment worthiness are handled properly. More importantly, it enables the community to
manage problems sustainably on their own.