เรื่อง: การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐานของสถานศึกษา ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถามศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อัมพร พินะสา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐานของสถานศึกษา
ในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายอัมพร พินะสา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้ท้องถิ่นเป็น
ฐานของสถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2) ประเมินประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐานของสถานศึกษาในสังกัด
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอบเขตของการวิจัย
กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนารูปแบบ คือ สถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มเป้าหมายในการประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบ คือ สถานศึกษา
สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จ านวน 10 โรงเรียน ได้มาด้วยวิธีการสุ่ม
อย่างง่าย วิธีการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้
ท้องถิ่นเป็นฐานของสถานศึกษาฯ โดยการสัมมนาผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 8 คน ใช้วิธีการเลือกแบบ
เจาะจง จ านวน 8 คน ระยะที่ 2 ตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ โดยสนทนา
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจ านวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้
ระยะที่ 3 การประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐานของ
สถานศึกษาฯ แหล่งข้อมูล ได้แก่ โรงเรียนขนาดเล็ก ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ขั้นพื้นฐานที่ 4 อ าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด จ านวน 10 โรงเรียน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา
และครู รวมจ านวน 60 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมิน
ประสิทธิภาพประมาณค่า 5 ระดับ โดยประเมินความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม
และความถูกต้องครอบคลุม ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบมี 5 องค์ประกอบ คือ การก าหนดทิศทางการ
จัดการศึกษา การจัดการศึกษา การจัดสถานศึกษา การมีส่วนร่วม และการก ากับ ติดตาม ประเมินผล
2) ผลการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
3) การประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบ ความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสมและ
ความถูกต้องครอบคลุมมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับตามเกณฑ์ในระดับมาก ข้อเสนอแนะการวิจัย
1) ควรมีการศึกษาวิจัยผลการน ารูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐานไปใช้ในการบริหาร
จัดการสถานศึกษาที่เหมาะสมกับบริบท ขนาด และความพร้อมของสถานศึกษา 2) ควรมีการ
ศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพปัจจัยที่ส าคัญส่งผลต่อคุณภาพของโรงเรียน เช่น ศักยภาพการมีส่วนร่วมของ
หน่วยงาน ศักยภาพของผู้บริหาร ตลอดจนปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมของท้องถิ่น เป็นต้น
abstract:
ABSTRACT
Title The Development of Local-based Educational Management Model
under The Primary Educational Area Office , North Eastern Region.
Field Social - Psychology
Name Mr. Ampon Pi-na-sa Course NDC Class 60
The objectives of this research were: 1) to develop the model of localbased educational management in schools under jurisdiction of Primary Educational
Service Area Office, and 2) to evaluate the efficiency of model in local-based
educational management in schools under jurisdiction of Primary Educational. The
delimitation of this study, the target group of model development included 10
schools 2, selected by Simple Random Sampling. There were 3 phases of this study
including : Phase 1, the educational management model was developed by using
locality as the base of schools through 8 seminar of 8 experts selected by Purposive
Sampling. Phase 2: the propriety and feasibility of model were investigated by focus
group of 7 experts. Phase 3: the efficiency of model in local-based educational
management of schools, the origin of data consisted of 10 small-sized schools and
teachers selected by Purposive Sampling. The research findings found that : 1) the
model consisted of 5 factors including: the determination of direction in educational
management, the educational management, the school management, the
participation, and the monitoring as well as following up and evaluation, 2) the
findings of investigation in Propriety and Feasibility of model, in overall, the mean
value was in “High” level, and 3) for the evaluation of model efficiency, the Utility,
Feasibility, Propriety, and Accuracy, it covered including accepted quality based on
criterion in “High” level. For research recommendations, 1) the effect of local-based
educational management in providing schools to be suitable for school context, size,
and readiness, should be studied, and 2) the qualitative research in factors affecting
school quality, for instance, potentiality of participation in work unit, administrator’s
potentiality.