เรื่อง: การลดความเหลื่อมล้ำในการบริการทางสุขภาพโดยกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพระดับอำเภอ : District Health Board(DBH) กรณีศึกษา พื้นที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สุวพงศ์ กิติภัทย์พิบูลย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การลดความเหลื่อมล้้าในการให้บริการทางสุขภาพ โดย กลไกคณะกรรมการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ้าเภอ (พชอ.) : District Health Board (DHB)
กรณีศึกษา พื้นที่อ้าเภอน้้าพอง จังหวัดขอนแก่น
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายสุวพงศ์ กิติภัทย์พิบูลย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษาการลด
ความเหลื่อมล้้าการให้บริการทางสุขภาพโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ้าเภอ (พชอ.) :
District Health Board (DHB) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการ
ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ้าเภอ (พชอ.) : District Health Board (DHB) ในพื้นที่
อ้าเภอน้้าพอง จังหวัดขอนแก่น และเพื่อเสนอการบริหารจัดการของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตระดับอ้าเภอ (พชอ.) : District Health Board (DHB) ในพื้นที่อ้าเภอน้้าพอง จังหวัดขอนแก่น
เก็บข้อมูลโดยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) จากแหล่งข้อมูลชั้นปฐมภูมิ (Primary
Source) และชั้นทุติยภูมิ (Secondary Source) ที่เป็นต้ารา คู่มือ หนังสือ วารสาร บทความ
วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย เอกสาร แผนงาน รายงานการประชุม และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
และการวิจัยภาคสนาม (Field Research) เพื่อศึกษาแนวทางและรูปแบบในการด้าเนินงานของ
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ้าเภอ ด้วยเครื่องมือแบบสัมภาษณ์ (Interview Form)
ชนิดกึ่งโครงสร้าง โดยใช้วิธีสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล (In – depth Interview) สัมภาษณ์
กลุ่ม (Group Interview) ร่วมกับการบันทึกเสียง กลุ่มเป้าหมายได้แก่คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตระดับอ้าเภอ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้ป่วย จ้านวน ๒๓ ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิง
เนื้อหา (Content Analysis)
ผลการศึกษาพบว่า คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ้าเภอ (พชอ.) อ้าเภอน้้าพอง
จังหวัดขอนแก่น มีกลไกการท้างานที่สนับสนุนการลดความเหลื่อมล้้าในการให้บริการทางสุขภาพ
ของอ้าเภอในทุกๆ ด้าน ด้านโครงสร้างของคณะกรรมการที่มาจากหลายภาคส่วนตามระเบียบ
กฎหมาย มีการสร้าง “น้้าพองโมเดล” เพื่อให้สามารถเข้าถึงประชาชนลดความเหลื่อมล้้าในระดับ
พื้นที่ มีการบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกัน มีการสร้างการมีส่วนร่วมให้ประชาชนในพื้นที่
ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการก้าหนดนโยบายแนวทางพัฒนาและการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ มีการพัฒนา
รูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสมโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยการสร้าง
เครือข่ายในแนวราบจากภาคประชาชน รวมทั้งมีการติดตามและประเมินผลการด้าเนินงานอย่าง
สม่้าเสมอ ซึ่งการด้าเนินงานในทุกด้านเป็นไปเพื่อการเข้าถึงบริการสุขภาพลดความเหลื่อมล้้าของ
ประชาชนในสังคม
abstract:
ABSTRACT
Title Reducing inequalities in health services by empowered of District Health
Board (DHB). Case study in Nam Phong district, Khon Kaen.
Field Social - Psychology
Name Mr.Suvapong Kitiphatphiboon Course NDC Class 60
This qualitative research was carried out to study how to reduce health
service inequality by District Health Board (DHB) in order to study the problem,
difficulty and suggestion of District Health Board (DHB) governance in Nam Phong
district, Khon Kaen. This research collected the data from Documentary Research by
using Primary source and Secondary source including textbook, handbook, book,
journal, article, report, document, objective plan, minute of meeting or related
document. Moreover, we used Field Research to study the guideline and
implementation pattern of the District Health Board by using Interview form in a semistructured type which refers to the In-depth interview and Group Interview combine
with voice recording. The target group consists of 23 respondents including District
Health Board, related officers and patients. The result was analyzed by using Content
Analysis.
The results of the survey indicate that District Health Board of Nam Phong
district, Khon Kaen had a procedure for reduce health service disparity for all aspects.
They created “Nam Phong Model” aim to access the people in each area like
Community-based participatory for reducing disparity in area based and manage
resource together. People in the area based can be a partner with DHB for creating
policy, guideline and solution for solving their problems in each area. Moreover,
District Health Board developed the appropriate management model using area as a
based, people as the centered, create horizontal communication networks from
people and follow up and evaluate performance regularly. Therefore, all procedure
of District Health Board was targeted to reducing health services inequality in society.