เรื่อง: บทบาทของภาคประชาสังคมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย กรณีศึกษาเทศบาลนครปากเกร็ด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมคิด สมศรี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการป้ องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย กรณีศึกษาเทศบาลนคร
ปากเกร็ด
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั นายสมคิด สมศรี หลักสูตรวปอ. รุ่นที่56
การศึกษาเรื่อง “บทบาทของภาคประชาสังคมในการป้ องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย
กรณีศึกษาเทศบาลนครปากเกร็ด” ผู้วิจัยมุ่งที่จะศึกษาประเด็นเกี่ยวกับปัจจัยความส าเร็จและบทบาท
ภาคประชาสังคมในการป้ องกันของภาคประชาสังคมจากเหตุการณ์อุทกภัยโดยใช้กรอบคิดปัจจัย
ความส าเร็จ ประกอบด้วย ภาวะผู้น า ความร่วมมือ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และแนวคิดการเรียนรู้
ของไทเลอร์(Tylor) ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือด้านความต่อเนื่อง ด้านการจัดช่วงล าดับ และ
ดา้นการบูรณาการการวิจยัคร้ังน้ีเป็นการวิจยัประยกุ ต์(Applied Research) ศึกษาโดยใช้วิธีวิจัยแบบ
ผสานวิธี (Mixed-methodology) ซึ่งมีการศึกษาเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็ นหลักและ
การศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative methodology) เป็ นตัวประกอบรอง มีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การศึกษา จ านวน 448 คน และผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ จ านวน 25 คน แบ่งเป็ น 4 กลุ่ม คือ
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ประชาชนที่ไม่ได้รับผลกระทบ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่เทศบาลนคร
ปากเกร็ด และหน่วยงานในพ้ืนที่รวบรวมขอ้มลูโดยใชเ้ครื่องมือแบบสมั ภาษณ์และแบบสอบถาม
ผลการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า ปัจจัย
ความส าเร็จในการป้ องกันที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านภาวะผู้น า รองลงมาคือด้านการรับข้อมูล
ข่าวสาร และด้านความร่ วมมือตามล าดับ ส าหรับบทบาทภาคประชาสังคมที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ
ด้านการจัดช่วงล าดับ รองลงมาคือ ด้านบูรณาการ และด้านความต่อเนื่องตามล าดับ
ข้อเสนอแนะจากการศึกษาคร้ังน้ีคือ ควรมีการวางแผนป้ องกันรับมือพิบัติภัย
ธรรมชาติในระยะยาว โดยการจดั ต้งักลไกระดบั พ้ืนที่ เพื่อจัดการปัญหาภัยพิบัติอย่างบูรณาการให้
หน่วยงานต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วม ต้งัเป็นศูนยอ์ า นวยการที่ดูแลเรื่องการป้องกนั และแกไ้ขปัญหา
อุทกภยัในพ้ืนที่เทศบาลนครปากเกร็ด และการจัดกิจกรรมรณรงค์โดยน าแผนป้ องกันภัยพิบัติของ
เทศบาลนครปากเกร็ดมารณรงค์ให้ประชาชนได้รับรู้
abstract:
ก
ABSTRACT
Title: The roles of civil society on flood prevention and relief; case study of Pakkred
Municipality
Subject:Social Psychilogy
Name: Mr.Somkid Somsri Course: NDC Class56
The study of the roles of civil society on flood prevention and mitigation ; case
study of Pakkred Municipality.This study aims to explore the roles of civil society on flood
prevention and mitigation, and the factors that lead to its success, by employing a framework that
includes leadership, cooperation, communication, and Tylor’s learning concepts, which has three
components, namely, continuity, sequence and integration.
This study is an applied research, Using (Mixed-methodology) which includess
(Quantitative method) And (Qualitative method) as a main and supplement research tools
respectively. The sample group in this study includes 448 individuals and 25 information givers,
divided in 4 groups, namely affected population, unaffected population, Pakkred Municipal
administration and operational officers, and local authorities. Regarding methodology, interviews
and questionnaires were conducted.
The study found that the overall successful rate is high, when considers based on the
framework, the most successful factor in preventing the flood is a leadership, the second most is a
communication, follows by a cooperation factor. Regarding the roles of civil society, the highest
mean is a sequence, the second highest is integration, follows by continuity.
Lessons from this study are: there should be a plan to prevent and handle a natural
disaster in a long term; establish a local working mechanism in order to comprehensibly handle
the disaster, so that every units can participate; establish an administration center that responsible
for preventing and relieving flood problem in Parkkred Municipality; organizing an activity to
raise public awareness for flood prevention.