Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบกำลังพลสำรองอาสาสมัครของกองทัพบก

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สุรศักดิ์ ฉัตรกุล ณ อยุธยา
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบก าลังพลส ารองอาสาสมัครของกองทัพบก ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรีสุรศักดิ์ ฉัตรกุล ณ อยุธยา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐ การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาวิเคราะห์กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ค าสั่ง และนโยบายต่างๆตลอดจนการด าเนินการ ทั้งในอดีตและปัจจุบันเกี่ยวกับก าลังพลส ารอง ของกองทัพบก เพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการสมัครเข้าเป็นก าลังพลส ารองของกองทัพบก และเพื่อ เสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบก าลังพลส ารองของกองทัพบก โดยมีขอบเขตการวิจัย คือ ศึกษาการ ด าเนินการเกี่ยวกับก าลังพลส ารองของกองทัพบก มุ่งเน้นข้อมูลจากก าลังพลผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ ด าเนินการเกี่ยวกับก าลังพลส ารองของกองทัพบก ทั้งในระดับนโยบาย ระดับแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ และระดับปฏิบัติ รวมถึงบุคคลที่อยู่ในข่ายจะสมัครเข้าเป็นก าลังพลส ารองได้ซึ่งประชากรในการวิจัย ครั้งนี้คือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการด าเนินการเกี่ยวกับก าลังพลส ารองของกองทัพบก โดยข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับนั้น มาจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ซึ่งเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบไปด้วย ระดับนโยบาย จ านวน ๔ ท่าน ระดับแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ จ านวน ๙ ท่าน และระดับปฏิบัติ จ านวน ๘ ท่าน และจากการสอบถามโดยใช้แบบสอบถามกับนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ ๔– ๕ จ านวน ๓๔๔ นาย และทหารกองประจ าการ จ านวน ๓๐๘ นาย ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การมีกฎหมายว่าด้วยก าลังพล ส ารอง เป็นผลท าให้การด าเนินการเกี่ยวกับก าลังพลส ารอง มีแนวโน้มที่จะสามารถด าเนินการได้ อย่างเป็นรูปธรรม และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นจากในอดีต เนื่องจากมีการบูรณาการตั้งแต่ระดับรัฐบาล ตลอดจนมีกฎหมายรองรับที่ชัดเจน รวมถึงมีแนวทางการรับผู้ที่สมัครใจเข้าเป็นก าลังพลส ารอง ส าหรับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการสมัครเข้าเป็นก าลังพลส ารองของกองทัพบกนั้น ทุกปัจจัยไม่ว่าจะเป็น ด้านความเข้าใจ ด้านทัศนคติ หรือด้านจูงใจ มีผู้เห็นด้วยในระดับมากทั้งสิ้น รวมถึงได้แนวทางการพัฒนา ระบบก าลังพลส ารองของกองทัพบก ซึ่งได้แก่ การก าหนดแนวทางรองรับในการเตรียมความพร้อม การสร้างการรับรู้ในทุกภาคส่วน การสร้างแรงจูงใจด้วยการให้สิทธิประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ การประชาสัมพันธ์ให้กับบุคคลโดยทั่วไปรับทราบ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้ทันสมัย การด าเนินการ และสร้างความร่วมมือในระดับชาติ การน าเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยสร้างการรับรู้การศึกษาดูงานระบบ ก าลังพลส ารองของต่างประเทศ การปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ความรักชาติให้กับก าลังพลส ารอง ในทุกโอกาส และการสนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอ ทั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ ได้แก่ เชิงปฏิบัติการ คือ เร่งรัดการจัดท าแนวทาง และรายละเอียดในการปฏิบัติตลอดจนการด าเนินการให้มีการรับสมัครก าลังพล ส ารองเข้ารับราชการทหาร ทั้งนี้ เพื่อให้หน่วยที่เกี่ยวข้องเตรียมการและจัดท าแผนการปฏิบัติ ในรายละเอียด เพื่อมุ่งสู่ระบบก าลังพลส ารองอาสาสมัครที่เป็นรูปธรรมให้ได้โดยเร็ว เชิงวิชาการ คือ การศึกษาวิจัยปัจจัยที่มีผลท าให้นายจ้างสนับสนุนให้ลูกจ้างเข้าสู่ระบบก าลังพลส ารองด้วยความสมัครใจ และเชิงนโยบาย คือ การจัดตั้งกลไกเพิ่มเติมในระดับพื้นที่ทั้งระดับภาคและจังหวัด เพื่อช่วยเหลือ ในการขับเคลื่อนระบบก าลังพลส ารองให้มีความคืบหน้าในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ

abstract:

ข Abstract Title Improving Voluntary-reserves System in the Royal Thai Army Field Military Researcher Maj. Gen. Surasak Chatkul Na Ayudhaya Course NDC Class 60 The purpose of this qualitative research was to study and analyzeall previous and present acts, laws, rules, regulations, policies and working processes related to the Royal Thai Army (RTA) reserve system. Factors that affected people’s decisions to apply to be reservists in RTA were also studied in order to provide suggestions on how to improve RTA reserve system. The scopesof the research concentrated on the management processes onthe reservesystem. Populations on this research were different types of RTA personnel involved in the reserve system. Those included officers in the policy-making level, officers who applied policies into actions, officers who preceded those actions and people who were eligible to apply to be reservists. Information wasgathered using two research methods. The purposive in-depth interviews were made to different types of officers; four officers in the policy-making level, nine officers in the level of policy-to-action and eight officers in the acting/proceeding level. In addition, questionnaires were made to 344 fourth and fifth year reserve officer students, and 308 enlisted soldiers. The results showed that the new laws on reserves could improve the management on the reserves system. That was because they brought cooperation and integration from all involved parties. Also, the new and updated laws provided more details for eligible people to apply to be reservists. The results also showed that all interested factors; including understanding, attitude and motivation, highly affected people’s decisions to apply to be reservists. Moreover, theresearch provided useful approaches to improve RTA reserve system in different areas; for example, preparation of RTA readiness, creation of awareness on reserve systemby using new technology and other tools, motivation building by providing different types of benefits, public relations, improvement of concerned laws, collaboration-building at the national level, studying of reserve system in allies countries,creating ideals of love and pride in the nationfor reservists, and adequate budgets. Different levelsof suggestions were made in this research. In operation level, RTA should quickly issue manuals and practices about reservistsand started to recruit reservists when they were ready. In academic level, there should be some studies on factors that would lead employers to allow employees to voluntary enroll to be reservists. In strategic level, some necessary mechanisms should be created, especially in the regional level so that they could drive those plans concerning reserve system into action in all areas.