Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทำงบประมาณแบบบูรณาการเชิงพื้นที่

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สุพัฒน์ นาครัตน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท างบประมาณแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายสุพัฒน์ นาครัตน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60 วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการจัดท างบประมาณแบบ บูรณาการของประเทศไทยกับต่างประเทศ วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ ที่ท าให้การจัดท างบประมาณ แบบบูรณาการเชิงพื้นที่ ไม่สามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งจัดท าข้อเสนอแนะและ แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท างบประมาณแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ โดยเป็นการศึกษา เปรียบเทียบการจัดท างบประมาณแบบบูรณาการของประเทศไทยกับประเทศเกาหลีใต้สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย โดยทั้ง 3 ประเทศด าเนินการปฏิรูปงบประมาณจนประสบผลส าเร็จ ซึ่ง สามารถน ามาปรับใช้ในการจัดท างบประมาณแบบบูรณาการในเชิงพื้นที่ของประเทศไทยได้เน้นการ จัดท างบประมาณแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ เฉพาะการจัดท างบประมาณของจังหวัด กลุ่มจังหวัด และ งบประมาณภาค ที่มีความเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 และ สอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีตามกระบวนการพิจารณาจัดสรรงบประมาณแบบ บูรณาการเชิงพื้นที่ ตามโครงสร้างยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ าปี ในการวิจัยครั้ง นี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาข้อมูลในการวิจัย ผู้วิจัยจะเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ ข้อมูลหลัก (Key Information) ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลจากต้นทางข้อมูลอย่างแท้จริง โดยการสัมภาษณ์ เชิงลึก (In-depth Interview) ตามเนื้อหาวัตถุประสงค์และขอบเขตการวิจัย จากบุคคลที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลจากเอกสาร ต ารา เอกสาร คู่มือแนวทางการจัดท างบประมาณแบบบูรณาการ กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น เพื่อเสนอรายงานการศึกษาเชิงพรรณนา โดยสังเคราะห์และ วิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัญหา เพื่อจะได้จัดท าข้อเสนอแนะ และแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท างบประมาณแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ โดยได้ผลการวิจัย การจัดท างบประมาณของต่างประเทศ การศึกษารูปแบบ วิธีการ และแนวทางการจัดการงบประมาณ ที่มีการจัดท างบประมาณเชื่อมโยงระหว่างส่วนกลาง ส่วนจังหวัด ส่วนท้องถิ่น ของต่างประเทศ(Best Practice) ๓ ประเทศ คือ เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย มีประเด็นที่น่าสนใจ คือการ จัดการงบประมาณ 3 ประเทศที่เป็นกรณีศึกษา ใช้งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานสามารถประยุกต์ใช้ ข้อดีในแต่ละด้านส าหรับการจัดท าการบริหารงบประมาณของประเทศไทย โดยเฉพาะการจัดสรร งบประมาณในลักษณะบูรณาการระหว่างส่วนกลาง จังหวัด และท้องถิ่น เพื่อน าไปสู่การน าเสนอข้อ ค้นพบเรื่องตัวอย่างที่ดี(Best Practice) จากการศึกษาระบบงบประมาณของ 3 ประเทศดังกล่าว พบว่าทุกประเทศมีรูปแบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting : PBB) โดยมีลักษณะมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการจัดท ากรอบรายจ่ายระยะปานกลาง และระยะยาว มีการประมาณการเศรษฐกิจมหภาค การประมาณการรายรับ การวิเคราะห์ผลกระทบข ด้านนโยบายการคลังและงบประมาณ มีการน าเสนอข้อมูลผลการด าเนินงาน ผลส าเร็จของการ บริหารงานมาเป็นแนวทางในการตัดสินใจการจัดท างบประมาณ มีระบบการติดตามผลและประเมินผล นอกจากนี้มีระบบการจัดเก็บฐานข้อมูลทางด้านงบประมาณที่ถูกต้องครบถ้วน โดยประเทศเกาหลีใต้ ประสบความส าเร็จในการบริหารงบประมาณแบบบนลงล่าง (Top-Down Budgeting) ในขณะที่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ก าหนดให้ผู้บริหารแต่ละหน่วยงานร่วมกันก าหนดเป้าหมายแผนงานที่เน้น ผลลัพธ์ โดยก าหนดเป้าหมายออกเป็น 3 ระดับ ระดับประเทศ ระดับรัฐ และระดับท้องถิ่น และ ประเทศออสเตรเลียที่มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ให้การบริหารจัดการภาครัฐมีความ คล่องตัวและด าเนินการได้รวดเร็ว ใช้ผลส าเร็จของการบริหารงานมาเป็นแนวทางในการตัดสินใจการ จัดท างบประมาณ ส าหรับปัญหาการจัดท างบประมาณแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ไม่มีประสิทธิภาพ เท่าที่ควร พบว่ามีปัญหาในเชิงนโยบายและปฏิบัติโดยปัญหาการจัดท าแผนพัฒนาตั้งแต่ระดับแผน หมู่บ้าน/ชุมชน แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอ าเภอ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และ แผนพัฒนาพื้นที่ภาค ต่างมีกฎหมายเฉพาะและภารกิจตามอ านาจหน้าที่ ท าให้กลไกในการจัดท า แผนพัฒนาแตกต่างกัน ไม่ประสานสอดคล้องต้องกัน ขาดความชัดเจนในการเชื่อมโยง และประสาน แผนในระดับพื้นที่ ปัญหาการจัดท าแผนพัฒนาพื้นที่ระดับภาค ยังไม่มีกลไกให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน ระดับพื้นที่เข้ามาร่วมพิจารณาจัดท า ท าให้ขาดการเชื่อมโยง สอดคล้องและครอบคลุมเพื่อที่จะพัฒนา ระดับพื้นที่ ปัญหาเชิงปฏิบัติทั้งในส่วนของส านักงบประมาณ ในเรื่องการปฏิบัติงานกองจัดท า งบประมาณเขตพื้นที่ 1-18 การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการงบประมาณ ระยะเวลาการจัดท า งบประมาณ และปัญหาการปฏิบัติงานของหน่วยงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องภายนอก ในเรื่องการจัดท า แผนงานโครงการยังเป็นการด าเนินงานตามภารกิจปกติในลักษณะต่างคนต่างท า เกิดความซ้ าซ้อน ขาดการเชื่อมโยงกันในลักษณะตามห่วงโซ่คุณค่า มีการโอนเปลี่ยนแปลงรายการไปด าเนินโครงการที่ ไม่ปรากฏในแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และยังไม่ให้ความส าคัญกับการจัดท างบประมาณแบบบูรณาการฯ ประกอบกับมีข้อจ ากัดด้าน ระยะเวลา และความชัดเจนในขั้นตอนการปฏิบัติ จึงส่งผลให้เกิดปัญหาในการบูรณาการงบประมาณ ระหว่างกระทรวงกับจังหวัดหลายประการ ปัญหาการเบิกจ่ายงบประมาณล่าช้าไม่เป็นไปตามแผนที่ ก าหนดไว้เป็นต้น โดยได้มีข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติงาน รวมทั้งมี ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยในโอกาสต่อไป เพื่อให้การจัดท างบประมาณแบบบูรณาการเชิงพื้นที่มี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

abstract:

ABSTRACT Title The Approaches for Enhancing the Efficiency of Regional Integrated Budget Preparation Field Economics Name Mr.Supat Nakarat Course NDC Class 60 This paper aims to compare the regional integrated budget preparation between Thailand and other countries, to analyze the causes of inefficient results and to suggest the solutions for enhancing the efficiency of regional integrated budget preparation. The author compares the regional integrated budget preparation in Thailand with Korean, The United State of America and Australia, which are the best studies in this field in order to apply their successful factors with the situations in Thailand, especially in provincial and regional budget preparation. Additionally, budget preparation in Thailand is consistent with Thailand 20 Year Strategic Plan (2017 - 2036), the 12th National Economic and Social Development Plan (2017 -2021)and the annual Budget Allocation Strategies, so that all government projects are align with the national strategies. This study uses a qualitative method to collect the key information from textbooks, articles, regulations and also interviews the in-depth issues with the related organizations. This results in the suggestions for enhancing the efficiency of regional integrated budget preparation by comparing with Korean, The United State of America and Australia, which is the best practices. The intrigue issue is that these countries have constructed Performance Based Budgeting (PBB), Medium term Expenditure Framework (MTEF) , Long term Expenditure Framework (LTEF) , macroeconomic analysis, revenue projection and stakeholder analysis, focusing on the enhancement of the efficiency and effectiveness of budget allocation. The results of the projects have been used for deciding the annual budget allocation in the following year. They also have set the system for controlling following and assessing the magnificent data to improve the efficiency and effectiveness of annual budget allocation. In Korean, they have performed Top-Down Budgeting to manage budget allocation. Meanwhile, The United State of America focuses on setting the purpose of the projects by dividing it into three levels includes; federal government, state government and local government. In Australia, they have paid attention on enhancing the efficiency and effectiveness of the budget allocation system, improving the flexibility of the public management and using the results of the projects for deciding the annual budget allocation. In case of the inefficiency in the regional integrated budget preparation process, this results from the limitation of the national policies and the lack of cooperation in practice. In term of the national policies, there are too many laws and regulations, which is not integrated, so the government organizations in provincial levels do not work together. For the latter, there are the lack of technology and time limitation for Budget Preparation Area Division 1-18 in the Bureau of the Budget, as well as the absence of knowledge, intention, cooperation, connection and duplication of the government organizations in provincial levels. This leads to the policy suggestions and practice proposals for the related study in order to enhancing regional integrated budget preparation in the future.