Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียในการพิจารณาคดีลับหลังจำเลยตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ.2560

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง สิริรัชศ์ เมตตามิตรพงศ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง วิเคราะห์ข้อดีข้อเสียในการพิจารณาคดีลับหลังจ าเลย ตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐ ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นางสิริรัชศ์ เมตตามิตรพงศ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐ เดิมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่ง ทางการเมือง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติให้การพิจารณาคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองต้อง กระท าโดยเปิดเผยต่อหน้าจ าเลยโดยอย่างน้อยในวันนัดแรกจ าเลยต้องมาศาล เพื่อให้ศาลได้อธิบาย ค าฟ้องและสอบค าให้การจ าเลยก่อน หากภายหลังจ าเลยไม่มาศาลจึงจะพิจารณาคดีลับหลังจ าเลยได้ แต่หลังจากกฎหมายบังคับใช้แล้ว ปรากฏว่าบรรดาผู้กระท าความผิดซึ่งล้วนแต่เป็นผู้มีฐานะและมีอิทธิพล กลับอาศัยหลักกฎหมายที่ก าหนดให้ต้องสืบพยานโดยเปิดเผยต่อหน้าจ าเลยเป็นเทคนิคในการประวิงคดี โดยการหลบหนีไม่เข้าสู่กระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลส่งผลให้ต้องหยุดกระบวนการ พิจารณาคดีและท าให้ไม่สามารถน าตัวผู้กระท าความผิดมาบังคับโทษตามค าพิพากษาได้ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐ จึงวางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพิจารณาคดีลับหลังจ าเลยใหม่ โดยให้อ านาจศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองสามารถพิจารณาพิพากษาคดีได้โดยไม่ต้องมีตัวจ าเลย มาศาลตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ ท าให้จ าเลยไม่สามารถอาศัยช่องว่างของกฎหมายดังกล่าวมาเป็น เหตุให้ศาลต้องงดการพิจารณาคดี รวมทั้งไม่มีก าหนดอายุความของคดีไว้ ไม่ว่าจ าเลยจะหลบหนีไป นานเพียงใดคดีก็ไม่ขาดอายุความ ท าให้เกิดเป็นประเด็นข้อถกเถียงในทางกฎหมายว่า การจ ากัดสิทธิ และเสรีภาพของจ าเลยในลักษณะเช่นนี้จะกระท าได้หรือไม่ และขัดกับหลักสากลในเรื่องสิทธิขั้นพื้นฐาน ของจ าเลยหรือไม่ซึ่งเป็นประเด็นปัญหาที่การวิจัยนี้มุ่งเน้นท าการศึกษา ในการวิจัยนี้ผู้วิจัยใช้วิธีการ วิจัยเอกสารเป็นหลักโดยศึกษาหลักการในเรื่องดังกล่าวเปรียบเทียบกับกฎหมายในต่างประเทศ จากการศึกษาพบว่าการพิจารณาและสืบพยานลับหลังจ าเลยตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง พ.ศ.๒๕๖๐ มีทั้งข้อดีและข้อเสีย โดยถึงแม้ว่าศาลจะสามารถพิจารณาพิพากษาคดีลับหลังจ าเลยได้ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการ แต่ก็ไม่สามารถบังคับโทษตามค าพิพากษาได้อย่างไรก็ตามผู้วิจัยเห็นว่า การที่ไม่ก าหนดอายุความ ก็พอถือได้ว่าเป็นการลงโทษอย่างหนึ่งเช่นกัน เพราะผู้กระท าความผิดที่หลบหนีไม่เข้าสู่กระบวน พิจารณาพิพากษาคดีของศาลก็ต้องหลบหนีไปตลอดชีวิต แต่หลักการดังกล่าวยังขัดต่อหลักสากล ในเรื่องสิทธิขั้นพื้นฐานของจ าเลยซึ่งอาจท าให้ประเทศไทยไม่ได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ ผู้วิจัยเห็นว่าหลักการเดิมที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณา คดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองพ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นหลักการที่ดีอยู่แล้ว อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง ข พ.ศ.๒๕๖๐มาตรา ๒๘ วรรคสอง ก็มิได้ถึงกับบังคับไปเสียทีเดียวว่าให้ศาลต้องพิจาณาคดีลับหลัง จ าเลย ศาลสามารถใช้ดุลพินิจเป็นแต่ละเรื่องไปได้ ไม่จ าเป็นต้องพิจารณาคดีลับหลังจ าเลยทุกเรื่องไป ซึ่งจะเป็นการผ่อนคลายจากปัญหาที่ขาดการยอมรับในเรื่องหลักสากลไปได้ในระดับหนึ่งแต่อย่างไรก็ดี ผู้วิจัยขอเสนอให้ใช้หลักการตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณา คดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองพ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งเป็นวิธีพิจารณาที่เป็นสากลและเป็นที่ ยอมรับโดยทั่วไป

abstract:

Abstract Title The positive and Negative Aspects of Trial in Absentia under the Organic Acton Criminal Procedure for Persons Holding Political Position B.E. 2560 Field Politics Name Mrs. Siriratch Mettamittrabonges Course NDC Class 60 The previous Organic Act on Criminal Procedure for Persons Holding Political Position B.E. 2542 stipulated that the criminal proceedings for persons holding political position shall be conducted with the defendant’s presence. At least on the first hearing date of the trial, the defendant shall attend the hearing, so that the court can explain the charge and ark for the plea of the defendant. Later, if the defendant fails to attend the subsequent hearing, the trial can be conducted in absentia. However, after the law was enforced, the defendants who were wealthy and influential deployed the principle of trial with defendant’s presence to technically delay the proceeding by fleeing from the trial. As a result, the court had to adjourn the case and the defendant could not be tried and sentenced. The Organic Act on Criminal Procedure for Persons Holding a Political Position B.E. 2560, therefore, introduces the new rule on trial in absentia by empowering the Criminal Division for Persons Holding Political Position Court in the Supreme Court to conduct the trial from the beginning until the end without the defendant present. This will make the defendant unable to use the said loophole in law to discontinue the trial. The new Act also provides no periods of prescription. This means no matter how long the defendant escapes, the trial will still be pending. This rule has raised arguments among legal practitioners that such limitation of rights and liberty of the defendant is whether legally sound and in compliance with international standard. The researcher used documentary research as the main method to study the subject by comparison of laws of Thailand and foreign countries. The research found the positive and negative sides of trial in absentia under the Organic Act on Criminal Procedure for Persons Holding a Political Position B.E. 2560. In facts, the court can conduct the trial in absentia, but the sentence cannot be enforced. However, the researcher views that new change on limitless periods of prescription itself is a type of punishment because the defendant who escapes the trial must run away for the rest of his or her live. Still, such principle is not in compliance with international standard concerning 2 the fundamental rights of the defendant and this can make Thailand become unacceptable among global community. The researcher views that the principle laid down in the Organic Act on Criminal Procedure for Persons Holding Political Position B.E. 2542 is legally reasonable. However,Organic Act on Criminal Procedure for Persons Holding Political Position B.E. 2560, section 28, paragraph two is not mandatory for the court to conduct the trial in absentia in all cases. The court can use its discretion to conduct the trial with or without the defendant’s presence and this can somehow relieve international pressure. However, the researcher views that the principle laid down in the previous Organic Act on Criminal Procedure for Persons Holding Political Position B.E. 2542, that is universal and generally accepted, should be applied