เรื่อง: อารยสถาปัตย์ในสังคมไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว สราญภัทร อนุมัติราชกิจ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง อารยสถาปัตย์ในสังคมไทย : ศึกษากรณีผู้สูงอายุ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางสาวสราญภัทร อนุมัติราชกิจ หลักสูตร วปอ. รุ่น ๖๐
การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความหมายของอารยสถาปัตย์ (Universal
Design) ที่เกี่ยวข้องกับคนทั้งมวล และความจ าเป็นในการน าแนวทางอารยสถาปัตย์มาปรับใช้กับ
ผู้สูงอายุและคนทุกวัย พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมอารยสถาปัตย์ที่เหมาะสมส าหรับ
ประเทศไทย โดยท าการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งเน้นการศึกษาวิเคราะห์ความหมายของ
อารยสถาปัตย์ที่เกี่ยวข้องกับคนทั้งมวล ในแง่ของหลักการ กระบวนการหรือรูปแบบ และความจ าเป็น
ในการน าแนวทางอารยสถาปัตย์มาปรับใช้กับผู้สูงอายุและคนทุกวัย ด้วยวิธีรวบรวมข้อมูลโดยการ
สัมภาษณ์ผู้ใช้ประโยชน์ในพื้นที่อารยสถาปัตย์ ซึ่งจะเป็นผู้สะท้อนสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี
ประกอบกับการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้แนวทางการส่งเสริม
อารยสถาปัตย์ในสังคมสูงวัยที่เหมาะสมส าหรับกลุ่มประชากรและบริบทของประเทศไทยที่มีความ
ชัดเจน และน าไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
ผลการวิจัยพบว่า อารยสถาปัตย์เป็นแนวคิดการออกแบบสภาพแวดล้อมที่ค านึงถึงการ
ใช้งานที่สะดวก ปลอดภัย ครอบคลุมอย่างเท่าเทียม โดยไม่ต้องดัดแปลงพิเศษหรือเฉพาะเจาะจงเพื่อ
บุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทุกคนในสังคม ทุกสภาพร่างกายสามารถด ารงชีวิตได้อย่างเสมอภาคกัน อีกทั้ง
ยังเป็นแนวคิดที่แสดงให้เห็นถึงความส าคัญของความสามารถของผู้ใช้บริการที่มีความต้องการอย่าง
หลากหลายโดยไม่เลือกปฏิบัติ และประเทศไทยมีความจ าเป็นที่จะต้องมีการน าหลักการอารยสถาปัตย์
มาปรับใช้ ภายในปี ๒๕๖๔ ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Aged Society)
อย่างไรก็ตาม แม้จะมีความพยายามในการส่งเสริมการน าหลักการอารยสถาปัตย์มาปรับใช้
แต่ยังคงพบอุปสรรคในการเข้าถึงการใช้พื้นที่ รวมทั้งประสิทธิภาพของการใช้นวัตกรรมต่างๆ ที่มีการ
ออกแบบตามหลักการดังกล่าวด้วย
นอกจากนี้ ได้เสนอแนะแนวทางการส่งเสริมอารยสถาปัตย์ในสังคมสูงวัยที่เหมาะสม
ส าหรับประเทศไทย ในเชิงนโยบาย คือ ควรก าหนดนโยบายหรือมาตรการในการส่งเสริมอารยสถาปัตย์
ของรัฐบาลที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี และแผนแม่บทที่สอดคล้อง ที่ส าคัญควรส่งเสริม
การพัฒนาดังกล่าวในลักษณะบูรณาการตามแนวทางประชารัฐ พร้อมทั้งให้มีการน านโยบายไปสู่การ
ปฏิบัติด้วยการก าหนดเป็นยุทธศาสตร์/ นโยบายระดับกระทรวง ควบคู่ไปกับกลไกหรือมาตรการในการ
สนับสนุนให้มีการน าแนวทางการส่งเสริมอารยสถาปัตย์ในสังคมสูงวัยไปปรับใช้เพื่อผลักดันให้
หน่วยงาน/องค์กร/วิชาชีพที่เกี่ยวข้องตระหนักในคุณค่าของการน าหลักการดังกล่าวไปปรับใช้อย่าง
เหมาะสมกับทุกกลุ่มเป้าหมายในสังคม ส าหรับ ในเชิงปฏิบัติ แม้ว่าการด าเนินการตามแนวทาง
อารยสถาปัตย์ในประเทศไทยจะมีการด าเนินการอย่างเหมาะสมในระดับหนึ่ง แต่ยังคงมีความจ าเป็นที่
จะต้องพัฒนาแนวทางการส่งเสริมอารยสถาปัตย์ในสังคมสูงวัยที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทยต่อไป
โดยในมุมมองของผู้ใช้ประโยชน์ในพื้นที่อารยสถาปัตย์นั้นเห็นว่า ควรมีระบบที่ส่งเสริม สนับสนุน และข
ช่วยเหลือให้กลุ่มเป้าหมายในสังคมให้สามารถใช้งานได้ดียิ่งขึ้น ในขณะที่ในมุมมองของผู้ทรงคุณวุฒิ
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเห็นว่า ควรพัฒนา ปรับปรุง จัดหาสิ่งประดิษฐ์/ สิ่งอ านวยความสะดวก
รูปแบบของการออกแบบตามหลัก Universal Design อย่างต่อเนื่อง เพื่อเอื้ออ านวยให้ทุกคน
สามารถเข้าถึงสิทธิ กิจกรรมทางสังคม ตลอดจนสามารถด าเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ พร้อมทั้งได้
เสนอแนะแนวทางทั่วไปในการป้องกันและแก้ไข/แก้ไข หรือบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งานใน
พื้นที่ที่มีการออกแบบตามแนวทาง Universal Design กล่าวคือ ควรจัดท าแผนบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยง
แนวคิด แผนงาน และงบประมาณของหน่วยงาน พร้อมทั้งก าหนดหลักเกณฑ์การให้คะแนนส าหรับ
หน่วยงานที่มีการออกแบบตามหลักการ Universal Design โดยให้มีการออกแบบสถานที่ตามหลักการ
ดังกล่าวมาตั้งแต่ต้น และเน้นให้ใช้วัสดุที่ได้มาตรฐานและปลอดภัยต่อการใช้งาน เพื่อท าเป็นศูนย์
ต้นแบบ รวมถึงควรมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความตระหนักในสังคมมากยิ่งขึ้นด้วย
abstract:
Abstract
Title Applying a Universal Design Concept in Thailand : Case Study
- the Elderly
Field Social - Psychology
Name Ms. Saranpat Anumatrajkij Course: NDC Class: 60
The purpose of this research is to study a concept of Universal Design and
the importance to apply it to the elderly and people of all ages, and propose the
approaches to promote Universal Design suitable for Thailand. This qualitative
research focuses on the analysis of the meaning of Universal Design in terms of
principles, processes, types, and the need to apply it to the elderly and people of all
ages. Findings were collected from interviews with local users of universal design
architecture, who can best reflect from their first-handed experiences. In addition,
the in-depth interviews with experts from related agencies were conducted in order
to explore approaches to promote Universal Design in the ageing society, suitable for
population and context of Thailand.
The research found that Universal Design is the design of environments so
that it can be used conveniently, safely, and equitably without the need for adaptation
or specialized modification for any persons. It can be accessed and used by people of
all ages or having any particular physical conditions. Universal Design also implies that
users have various needs. Thailand has to put Universal Design concept into practice
accordingly. Thailand will become an aged society in 2021. Although many attempts
have been made to apply Universal Design in Thailand, there are obstacles such as
access to the places designed and the efficiency of innovations designed.
The research also proposed the approaches to promote Universal Design in
the ageing society, suitable for Thailand. Policy recommendations include propose
policies or measures to promote Universal Design in accordance to the 20-year
National Strategic Plan, and a corresponding national roadmap. Additionally the
implementation should be promoted among various sectors in the society. More
importantly, government agencies should have a strategic plan to translate policy into
practice, as well as measures and mechanisms to promote Universal Design in order
to encourage the application of Universal Design among related agencies,
organizations, and professions. In practice, despite successes to a certain degree,
there is still a need to develop more effective methods. Our findings found that 2
local users wished for systems or tools that could assist target population to better
use the facilities. While experts saw the need to continuously develop, improve, and
provide Universal Design innovations/facilities so that everyone can access to rights
and social activities and live a better quality of life.
Lastly, the research proposed general recommendations to prevent, solve
or ease the problems arising from the actual use of Universal Design facilities. These
included developing a collaborative plan connecting ideas, plans, and budgets of
related agencies, and developing a guideline for score assessment for such agencies.
The assessment should look at a suitable design, materials used, and safety, Those
received a good score can be use as a model. Finally yet importantly, continuing
communications and campaigns should be made to raise awareness amongst the
general public.