เรื่อง: การเพิ่มแนวทางการพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเพื่อก้าวสู่ยุคเอสเอ็มอี 4.0 : ศึกษาเฉพาะภาคธุรกิจบริการ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง สยุมรัตน์ มาระเนตร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพฒั นาศกัยภาพของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม เพื่อกา
้
วสู่ยคุ
เอสเอ็มอี4.0 : ศึกษาเฉพาะภาคธุรกิจบริการ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วจิัย นางสยุมรัตน์ มาระเนตร หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่60
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) มีบทบาทส าคัญเป็ นกลไกขับเคลื่อน
เศรษฐกิจ ในการน้ีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) ยังสามารถพัฒนาขีดความสามารถ
เพื่อช่วยเพิ่มสัดส่วนมูลค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) เป็นแรงส่งให้ประเทศไทย
พ้นวิกฤต “The Missing Middle” และกบั ดกัประเทศที่มีรายไดป้ านกลาง ด้วยเหตุข้างต้น งานวจิยัน้ี
จึงมีวตัถุประสงค์ศึกษาวฏัจกัรธุรกิจและแนวโน้มการขยายตวัของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
วเิคราะห์ปัจจยัส่งเสริมเพื่อสร้างสภาพการแข่งขนั รวมถึงเสนอแนะแนวทางพฒั นาศกัยภาพเพื่อกา้ว
สู่ยคุ เอสเอ็มอี4.0รวมถึงกา หนดวิธีการป้องกนัและเฝ้าระวงัปัจจยัลบในการดา เนินธุรกิจและเสนอแนะ
แนวทางพฒั นาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภาคธุรกิจบริการให้สามารถเปลี่ยนถ่ายไปสู่ยุค
เอสเอ็มอี 4.0 เพื่อช่วยเพิ่มสัดส่วน GDP SMEs ให้สูงข้ึนเป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2564
งานวิจยัน้ีผู้วิจัยด าเนินการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกศึกษาความคิดเห็นของ
ผู้เกี่ยวขอ้ง เพื่อทราบปัจจยัส่งเสริมความสามารถของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาค
ธุรกิจบริการและทราบแนวทางการพัฒนาในเชิงคุณภาพ รวมถึงทราบวิธีการป้องกนัและเฝ้าระวงัปัจจยั
ลบในการดา เนินธุรกิจผลการวิจยัพบวา่ วสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) มีศักยภาพการ
บริหารงานที่ไม่ซับซ้อนมากนกั มีความรู้ ความสามารถและทักษะที่ดีในการดา เนินกิจการรวมถึง
สามารถส่งมอบการบริการที่เป็นเอกลกั ษณ์ไดเ้ป็นอย่างดีอยา่ งไรก็ตาม วิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดยอ่ ม (SMEs) ยงัมีขอ้จา กดัที่สามารถพัฒนาดา้นอื่นๆ อาทิเช่น ด้านการขยายตลาดด้านเทคโนโลยี
เป็ นต้น ดว้ยขอ้จา กดัขา้งตน้ งานวิจยัน้ีจึงเสนอแนวทางการพฒั นาศกัยภาพวสิาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม (SMEs) ผ่านผูเ้กี่ยวขอ้ง3 ดา้น คือ ด้านที่หนึ่งภาครัฐ ด้านที่สองภาคเอกชน และด้านที่สาม
ผปู้ระกอบการวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม นอกจากน้ีผวู้ิจยัไดย้กตวัอยา่ งการพฒั นาวสิาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดยอ่ มภาคบริการให้ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมในประเทศญี่ปุ่น โดยการพฒั นาน้ี
กระจายอยตู่ ามทอ้งถิ่นต่าง ๆ ทวั่ ประเทศใหผ้อู้่านเห็นภาพการพฒั นาอีกดว้ย
abstract:
Abstract
Title : The development guideline for Small and Medium Enterprises (SMEs)
in moving towards SMEs 4.0 revolution: focus on service sector
Field : Economics
Name : Mrs.Sayumrat Maranate Course : NDC class 60
The contribution of Small and Medium Enterprises (SMEs) to Thailand’s economy
has been significant, both in terms of contribution to GDP and creation of employment
opportunities. Small and Medium Enterprises (SMEs) in services sector play a significant role
accelerating country’s economic growth in the past recent years. This paper aims to : 1. study
business cycle and business growth trends of Small and Medium Enterprises (SMEs) in the services
sector, 2. analyze factors contributing Small and Medium Enterprises’ (SMEs) growth and Small
and Medium Enterprises (SMEs)’s core competences in order to build or sustain competitive
advantages in each business cycle, 3. Recommend towards development strategies for Small and
Medium Enterprises (SMEs) in order to deal with the Thailand 4.0 revolution and identify
negative factors, which Small and Medium Enterprises (SMEs) should be aware, 4. Recommend
how to increase the value of SME GDP to be at least 50% of total GDP by 2021. This paper is
conducted with qualitative approach for data collection via 12 face-to-face interviews; interviewees
are SMEs entrepreneur, governors and bankers who are familiar with service sector. The study finds that
the core-competencies of small medium enterprise (SME) are service skills, flat organization
management, providing unique service and creating a reliable marketing. Thus, Thailand is
moving towards Thailand 4.0 which is driven primarily through ‘creativity and innovation’, Thai
SMEs still have room for further improvements from the way of doing business ‘less for more’,
new labor literacy, productivity technological adoption and building strong domestic brand prior
expansion to regional/ global markets.