Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบการเรียนรู้และการจัดความรู้ของกองทัพอากาศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาอากาศเอก ศิริพงษ์ สุภาพร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการพัฒนาระบบการเรียนร้ และการจัดการความร ู ้ของ ู กองทัพอากาศ ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย นาวาอากาศเอก ศิริพงษ์ ส ู ุภาพร หลักสูตร วปอ. ร่นที ๕๖ ุ การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสภาพปั จจุบันของการเป็ นองค์การแห่ง การเรียนรู้ของกองทัพอากาศ เพือเสนอแนวทางการพัฒนาระบบการเรียนรู้และการจัดการความรู้ของ กองทัพอากาศ ดําเนินการวิจัยโดยวิธีวิจัยเชิงสํารวจ ผ่านหน่วยงานต้นแบบ คือ กรมสรรพาวุธทหาร อากาศ ซึ งถูกกาหนดโดยยุทธศาสตร์ของกองทัพอากาศและนโยบายผู้บัญชาการท ํ หารอากาศประจําปี พ.ศ.๒๕๕๖ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกบข้าราชการของกรมสรรพาวุธทหารอากาศ ั จํานวน ๖๖๙ คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี ร้อยละ ค่าเฉลีย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ One Way ANOVA และสหสัมพันธ์ของ Pearson ผลการวิจัยพบวา ระดับการเป็ นองค์กรแห ่ ่งการเรียนรู้ของกรมสรรพาวุธทหารอากาศ และกองทัพอากาศอยูในระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว ่ ่า กระบวนการจัดการความรู้ด้าน บุคคลใฝ่ รู้และวิสัยทัศน์ร่วมมีค่าเฉลียสูงสุด รองลงมาคือ รูปแบบความคิด การเรียนรู้เป็ นทีม และ การคิดอยางเป็ นระบบ ตามลําดับ เมือพิจารณาเปรียบเทียบความคิดเห ่ ็นของข้าราชการทีมีสถานภาพ ต่างกน พบว ั า เพศชายมีวิสัยทัศน์ร ่ ่วมมากกวาเพศหญิง ข้าราชการทีมีชั ่ นยศสูงมีความเป็ นบุคคลใฝ่ รู้ มากกว่า ข้าราชการทีมีอายุสูงกว่ามีการคิดเป็ นระบบอย่างเป็ นระบบ มีเทคโนโลยีในการจัดการ ความรู้ การวัดและวิเคราะห์ผลการดําเนินการจัดการความรู้ทีดีกวา ในด้านวุฒิการศึกษา ข้าราชการ ่ ทีมีวุฒิการศึกษาสูงกวามีความเป็ นบุคคลใฝ่ รู้มากกว ่ า ่ ข้อเสนอแนะ (๑) เชิงปริมาณ หน่วยเก ียวข้องของกองทัพอากาศควรศึกษาการเป็ น องค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยมีกรมสรรพาวุธเป็ นหน่วยต้นแบบ (๒) เชิงนโยบาย ผู้นําทุกระดับ ควร กาหนดกลยุทธ์ของหน ํ ่วยงานให้สอดคล้องกบแผนยุทธศาสตร์กองทัพอากาศประจําปี พ.ศ.๒๕๕๖ ั โดยมีเป้ าหมายทีจะเป็ นหน่วยงานไปสู่การเป็ นองค์กรแห่งการเรี ยนรู้ (๓) เชิงวิจัย ควรมีการ ศึกษาวิจัยหน่วยงานด้านอืน ๆ ของกองทัพอากาศ เช่น ด้านกาลังรบ ด้านอํานวยการและยุทธบริการ ํ รวมทั งควรมีการศึกษาเปรียบเทียบกบกองทัพบกและกองทัพเรือ ั

abstract:

ABSTRACT Title Guideline for the improvement of learning system and knowledge management of the Royal Thai Air Force Field Military Name Group Captain Siripong Supaporn Course NDC Class 56 The purpose of this research is to study the current condition in becoming a learning organization of the Royal Thai Air Force and propose a guideline for the improvement of learning system and knowledge management of the Royal Thai Air Force (RTAF). Survey research method was used to complete the research in connection with the model RTAF component, namely, the Directorate of Armament designated by the RTAF strategy and the policies of the RTAF Commander￾in-Chief in the year 2013. Information is gathered through the use of questionnaires distributed to 669 Directorate of Armament personnel. The information analysis was done by determining frequencies, percentages, averages, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA, and Pearson correlation. It has been found from the research that the Directorate of Armament was rated in a high level of becoming a learning organization of the RTAF. In consideration with respective area, it has been found that the knowledge management process concerning people who are eager to learn and the shared vision has the maximum average followed by the thinking patterns, team learning, and systematic thinking which came in the second place. In comparison with the opinions of the personnel with different statuses, male personnel have more shared vision than that of the female personnel. Higher-ranking personnel have higher tendency to be the people who are eager to learn. Personnel with older age have better systematic thinking, knowledge management technology, measurements, and analysis of the management outcome. Regarding educational backgrounds, personnel with higher education are more likely to be the people who are eager to learn. It is recommended that (1) as for the volumetric consideration, the RTAF-related components should study the means to become the learning organization with the Directorate of Armament as a model, (2) as for the policy, leadership at every level should establish its strategy of the organization in compliance with the strategy of the RTAF in the year 2013 with the aim of becoming the organization that leads to the learning organization, (3) as for the research, there should be researches of other RTAF components, for example, the combat group, directing group, and logistic group as well as the comparative studies with the Royal Thai Army and the Royal Thai Navy.