เรื่อง: แนวทางการปฏิบัติการกองทัพเรือในภาคีสมาชิกอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้ายของสหประชาชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี สมพงษ์ นาคทอง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง บทบาทของกองทัพเรือในการต่อต้านการก่อการร้าย
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลเรือตรี สมพงษ์ นาคทอง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่60
การก่อการร้ายในปัจจุบันนับว่าเป็นภัยคุกคามอันส าคัญ และมีความรุนแรงมากขึ้น
อันเนื่องจากเป็นภัยที่สามารถสร้างความเสียหายได้เป็นอย่างมาก ประเทศไทยได้ตระหนักถึงภัย
ก่อการร้าย และให้ความส าคัญในการมุ่งเน้นการต่อต้านการก่อการร้าย มีการจัดท ายุทธศาสตร์ด้าน
ความมั่นคง โดยก าหนดเป็นกรอบยุทธศาสตร์ระดับชาติ 20 ปี เพื่อการพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการ
ป้องกันประเทศ กองทัพเรือเป็นหน่วยงานในสังกัดของกระทรวงกลาโหมมีภารกิจหน้าที่เตรียมก าลัง
และรักษาความมั่นคงทางทะเล ด าเนินการเกี่ยวกับการใช้ก าลังกองทัพเรือตามอ านาจหน้าที่ของ
กระทรวงกลาโหม ตลอดจนหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาล บทบาทของกองทัพเรือในการ
ต่อต้านการก่อการร้าย จึงมีความส าคัญ เนื่องจากการก่อการร้ายในปัจจุบันมีลักษณะไร้พรมแดน
งานวิจัยได้ก าหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1. เพื่อศึกษาบทบาทกองทัพเรือในการต่อต้านการก่อ
การร้าย 2. เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในการด าเนินการต่อต้านการก่อการร้าย 3. เพื่อศึกษาแนว
ทางการปฏิบัติที่เหมาะสมในการต่อต้านการก่อการร้ายของกองทัพเรือจากผลการวิจัยพบว่า กองทัพเรือ
มีบทบาทในการรักษาอธิปไตยของชาติการรักษากฎหมายและช่วยเหลือประชาชน ด้านการทูต และ
การสร้างบทบาทน าในความร่วมมือด้านความมั่นคง การป้องปราม และการปฏิบัติการเชิงรุก ในด้าน
รักษาอธิปไตยของชาติทางทะเล นอกจากหน้าที่ภารกิจหลักแล้ว กองทัพเรือยังไม่ได้รับมอบให้
มีหน้าที่ให้เป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการปฏิบัติตาม
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล และการรักษาอธิปไตยของชาติทางทะเล และในฐานะศูนย์
ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล จะมีฝ่ายอ านวยการที่ประกอบด้วย
ผู้แทนจากหน่วยราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กองทัพเรือปฏิบัติงานตลอด 24 ชั่วโมง โดยสามารถติดต่อ
ประสานงานกับกองบังคับการศูนย์ฯหรือฝ่ายอ านวยการจัดส่วนราชการต่างๆ ได้ โดยตรงส าหรับปัญหา
อุปสรรคนั้นมีความหลากหลายและรูปแบบเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากขึ้น ที่ส าคัญคือปัญหาการก่อการร้าย
ในทะเล การกระท าความผิดกฎหมายในทะเล อาชญากรรมข้ามชาติปัญหาการขาดเอกภาพในการบังคับ
บัญชา และการขาดอ านาจสั่งการ ปัญหาความไม่ชัดเจนในภารกิจ ปัญหาด้านการข่าวส าหรับข้อเสนอแนะ
มีดังนี้ 1. เตรียมความพร้อมของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการรับมือกับการก่อการร้ายที่อาจจะ
เกิดขึ้น 2. ควรเพิ่มความระมัดระวังในการป้องกันที่เสี่ยงต่อการเป็นเป้าหมายของผู้ก่อการร้าย
3.จัดตั้งองค์กรเฉพาะที่รับผิดชอบด้านการก่อการร้ายทั้งในนโยบายและระดับปฏิบัติที่มีขีดความสามารถ
ในการปฏิบัติงานด้านการข่าวกรองและมีเอกภาพ 4. ปรับปรุงระบบบูรณาการข่าวกรอง 5. ให้มีการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการป้องกันการก่อการร้าย 6. เลือกมาตรการ หรือมติที่เห็นว่ามีความเหมาะสม
กับสถานการณ์ และมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ7. ปรับปรุงมาตรการด้านการข่าว 8. เพิ่มมาตรการ
ป้องกันการลอบวางระเบิด9.เน้นมาตรการที่แก้ปัญหาได้โดยสูญเสียน้อย
abstract:
Abstract
Title : Role of the Royal Thai Navy in Anti-Terrorism
Field : Strategy
Name : Radm. Sompong Narkthong Course NDC Class 60
Terrorism is a major threat and becoming more devastating. Thailand realizes
the threat caused by terrorism and pays close attention to anti-terrorism. Consequently,
there exists a national security strategy that spans over a period of 20 years with the aim
to leverage the defense capability. The Royal Thai Navy, a unit of the Ministry of
Defense, is responsible for maintaining naval peace and stability as well as carries
assignments appointed by the government. The role of the Royal Thai Navy in antiterrorism is of the utmost importance as the terrorism becomes borderless.
The objectives of this research are as follows: 1. To study the role of the Royal Thai
Navy in anti-terrorism. 2. To study problems and obstacles in anti-terrorism. 3. To study
proper protocols for maritime anti-terrorism. The study shows that the Royal Thai
Navy plays multiple roles, i.e., sovereignty defense, law enforcement and public services,
diplomatic affairs. In additional to the core duty, the Royal Thai Navy is designated to
be a major unit in exercising national naval security policy as well as operating the
Thailand Maritime Enforcement Coordinating Center (Thai-MECC). The center consists
of delegates from related government agencies and can directly cooperate government
agencies if needed. There exist various forms of problems and obstacles and they are
dynamically changing. The crucial problems are maritime terrorism, maritime law
violation, international crime, lack of authority, unclear mission objective, and ineffective
intelligence. The researcher suggests the following: 1. Prepare agencies related to antiterrorism. 2. Increase security in terrorist targeted areas. 3. Establish an agency responsible
for anti-terrorism, in both policy and operation. 4. Promote intelligence sharing among
agencies. 5. Promote information exchange to prevent terrorist attack. 6. Execute
proper security measure that operational feasible. 7. Improve intelligence protocol
8. Improve security against explosive device plantation. 9. Execute the minimum damage
procedural measure.