Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: มาตรการเสริมแทนโทษปรับในคดีลหุโทษ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี สมพงษ์ เตชะสมบูรณ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง มาตรการเสริมแทนโทษปรับในคดีลหุโทษ ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย พล.ต.ต.สมพงษ์ เตชะสมบูรณ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60 เอกสารวิจัยฉบับนี้ได้ท าการศึกษาถึงแนวความคิดในการน ามาตรการเสริมอื่นมาใช้ บังคับแทนการลงโทษทางอาญาในคดีความผิดลหุโทษ เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องอัตราโทษที่ไม่เคยได้รับ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้มีความเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม ปัญหาเรื่องผลทางกฎหมาย ที่ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการลงโทษผู้กระท าความผิดได้อย่างแท้จริง และปัญหาเรื่องความ เหมาะสมในการบังคับใช้โทษทางอาญากับความผิดลหุโทษ จากการศึกษาพบว่ามาตรการเสริมอื่นที่มีความเหมาะสมในการน ามาบังคับใช้กับ ความผิดลหุโทษคือ มาตรการทางปกครอง และมาตรการบริการสังคม โดยเป็นการมอบอ านาจในการ บังคับใช้มาตรการให้แก่เจ้าพนักงานต ารวจ ในลักษณะของการออกค าสั่งให้ผู้กระท าความผิดกระท า การอย่างใด ๆ ตามที่เจ้าพนักงานต ารวจสั่งให้ผู้กระท าความผิดปฏิบัติตามถ้าผู้กระท าความผิดปฏิบัติ ตามค าสั่งคดีนั้นก็จะเลิกกันไป แต่ถ้าผู้กระท าความผิดไม่ยินยอมปฏิบัติตามหรือไม่เห็นด้วยกับค าสั่ง ก็จะมีการน าคดีขึ้นสู่การพิจารณาของศาลโดยน ามาตรการการออกค าสั่งลงโทษมาปรับใช้กับผู้กระท า ความผิด การน ามาตรการเสริมดังกล่าวมาบังคับใช้แทนการลงโทษทางอาญากับความผิดลหุโทษ นี้ สามารถแก้ไขปัญหาของคดีความผิดลหุโทษในปัจจุบัน ในเรื่องอัตราโทษและความซ้ าซ้อนกันของ กฎหมายที่มีลักษณะใกล้เคียงกับความผิดลหุโทษ ความเหลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจของบุคคลในสังคม และปัญหาเรื่องการด าเนินการจัดการกับความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ไม่มีความจ าเป็นต้องน ามาตรการ ทางอาญามาใช้บังคับกับผู้กระท าความผิด ฉะนั้น เพื่อพัฒนาให้การท างานบริการสังคมแทนค่าปรับในไทย สามารถน ามาบังคับ ใช้ได้โดยเหมาะสมกับตัวผู้กระท าความผิด ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการลงโทษและมุ่งถึงการ ฟื้นฟูแก้ไขพฤติกรรมของผู้กระท าความผิด จึงเป็นการสมควรอย่างยิ่งที่จะมีการแก้ไขปรับปรุงให้การ ท างานบริการสังคมแทนค่าปรับมีผลในทางบังคับกับผู้กระท าความผิดอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม โดยก าหนดให้การท างานบริการสังคมมีผลบังคับเป็นโทษทางอาญาหรือก าหนดให้การท างานบริการ สังคมเป็นโทษอุปกรณ์ของโทษปรับหรือก าหนดให้การท างานบริการสังคมเป็นโทษทดแทนหรือ มาตรการเสริมโทษปรับ

abstract:

ABSTRACT Title : Fine : A Case Study of Community Service In Lieu of Fines Field : Politics Name : Pol.Maj.Gen. Sompong Techasomboon M.D. Course NDC Class 60 In this thesis, the author has investigated applying supplementary measures in lieu of criminal punishments in cases of petty offenses. This would circumvent problems stemming from obsolete and unchanged penalties unsuited to current economic and social conditions. These problems include the legal consequences of penalties not meeting the genuine purpose of punishment, and improper enforcement. In the course of the investigation, it was found that supplementary measures that could be suitably applied to petty offenders include administrative and social-service measures. In such cases, police officers would be empowered to enforce these measures through the issuance of orders to the offenders to comply. If such offenders abide by the orders, the matter of having committed offenses would be settled. However, in case of non-compliance, the cases would be brought to court and subsequent appropriate measures would be takenin regard to the offenders. The application of supplementary measures in lieu of criminal punishments can solve problems of petty offenses cases in terms of penalties, overlap of similar legal provisions, unequal status, and allowance for the handling of trivial matters without applying fully-fledged criminal measures to offenders. Therefore, to develop work to serve society instead of fine in Thailand. In order to be able to enforce appropriately to offenders and respond to objectives of punishment, as well as aim to rehabilitate and correct behavior of offenders, it is strongly worthy to modify social service work instead of fine to be imposed on offenders equally and fairly, by determining for social service work to enforce as criminal punishment, or determining for social service work to be replacement punishment or supplemental measure for fine punishment.