เรื่อง: แนวทางการเสริมสร้างระเบียบวินัยนักเรียนนักศึกษา ระดับอาชีวศึกษาด้วยกระบวนการลูกเสือของสถานอาชีวศึกษาในจังหวัดชัยภูมิ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมเกียรติ แถวไธสง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการใช้กระบวนการลูกเสือสร้างระเบียบวินัยนักเรียน นักศึกษา
ระดับอาชีวศึกษา ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จังหวัดชัยภูมิ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายสมเกียรติ แถวไธสง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ คือ ๑. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและการจัด
กิจกรรมลูกเสือของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จังหวัดชัยภูมิและ ๒. สร้างแนวทางการใช้กระบวนการ
ลูกเสือสร้างระเบียบวินัยนักเรียน นักศึกษาระดับอาชีวศึกษา ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จังหวัด
ชัยภูมิด าเนินการวิจัย โดยการสนทนากลุ่ม ซึ่งเป็นประธานอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิหรือผู้แทน
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู/อาจารย์ผู้รับผิดชอบกิจกรรมลูกเสือ ตัวแทนลูกเสือวิสามัญ วิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาก าหนดนโยบายในการเสริมสร้างระเบียบวินัย
นักเรียน นักศึกษาด้วยกระบวนการลูกเสือ ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนได้พัฒนาตนเองด้านลูกเสือ
เพื่อให้มีวุฒิทางลูกเสือที่สูงขึ้น ยกระดับความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมลูกเสืออย่างมี
ประสิทธิภาพ นิเทศ ติดตามการด าเนินการจัดกิจกรรมลูกเสืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง เพื่อเป็น
การติดตามเป็นระยะ ๆ ท าให้สามารถช่วยเหลือ แก้ปัญหาในการด าเนินกิจกรรม และช่วยสร้าง
แรงจูงใจให้ผู้รับผิดชอบกิจกรรมลูกเสือ ด้านครูผู้สอน ต้องมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องหลักสูตรลูกเสือ
อย่างถูกต้อง จัดท าแผนการจัดกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ และวางแผนร่วมกันในการจัดกิจกรรมลูกเสือ
ตามหลักสูตรอย่างแท้จริง จัดการเรียนการสอนโดยสอดแทรกในรายวิชาต่าง ๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียน
ลูกเสือใช้ความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากการเรียนไปพัฒนาตนเอง จัดกิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้
ต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างระเบียบวินัยของนักเรียน นักศึกษา เช่น กิจกรรมออมเงิน (ประหยัด) กิจกรรม
เข้าแถวหน้าเสาธง (ตรงต่อเวลา) ฝึกระเบียบแถว เข้าค่ายลูกเสือ จัดกิจกรรมอาสา บริการสังคม จิต
อาสาต่อชุมชน เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและช่วยสร้างจิตส านึกในการท าประโยชน์เพื่อส่วนรวม
ด้านผู้เรียน กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้เทคนิคการสอนเยาวชน ไม่ได้เน้นเรื่องของวิชาการ
เป็นหลัก จึงท าให้ผู้เรียนไม่เครียด มีความสุขในการเรียนการสอน โดยให้เด็กมีส่วนร่วม ฝึกการเป็น
ผู้น า และผู้ตามของกลุ่ม กิจกรรมลูกเสือช่วยสร้างจิตส านึกให้กับผู้เรียน สร้างแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนมี
ความอดทน มีระเบียบวินัยต่อตนเองและสังคม มีความซื่อสัตย์สุจริต สอนให้มีความกล้าแสดงออก
และท าในสิ่งที่ถูกต้อง
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines of Using Scout Program Developing Disciplinary in
Vocational Students in Chaiyaphum Province
Field Social – PsyChology
Name Mr.Somkiet Thaewthaisong Course NDCClass 60
This research has two purposes of studying 1) studying about organizing
problems of scout program in vocational colleges in Chaiyaphum province 2) creating
guidelines of using scout program to help developing discipline in vocational students
in Chaiyaphum province. The research method used group discussion consisted of
the president of vocational institutes or the representative, executives from
vocational institutes, teachers who responsible for scout program, and representatives
of rover scout. Data analysis methods in this study employed content analysis
technique.
The study found that executives of vocational colleges determined policy
to develop students’ discipline by using scout program. Teachers were supported to
have self–development in scout knowledge for having higher level in order to
organize scout activities more appropriately. A supervision program was scheduled
timely to follow up scout program of each semester. It could help solving
management problems in the scout program and also it motivated teachers who
responsible on the program. Teachers were knowledgeable and understand the scout
curriculum correctly. There were activity plans for rover scouts and all authorities
coordinated to implement the plans properly. There was integration of scout
knowledge into several subjects which students had more chances to apply their
skills for self–developing. There were learning base activities which helped developing
self–discipline in students for example money saving, standing in rows in front of flag
pole to improve punctuality, row practicing, camping, arranging volunteer activities,
helping society, and being volunteer to their communities. These all activities helped
students improving their behaviors and increasing more spirit of participation in their
communities. Scout program emphasized on using various skills in activities and it is
not for academic skill therefore students were relaxed and happy in their learning. All
participated students were trained to be leaders, had improved discipline in
themselves and to others, be honest, be encouraged to express themselves, and had
done good deeds.