Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาระบบการบังคับคดีแพ่งกับการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและความมั่นคงของประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ศ.(พิเศษ) วิศิษฎ์ วิศิษฎ์สรอรรถ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

- ก - บทคัดย่อ เรืÉอง การพฒั นาระบบการบงัคบัคดีแพ่งกบัการเสริมสร ้ างศกัยภาพในการแข่งขนั และความมันคงของประเทศไทย É ลกัษณะวชิา การเมือง ผ ู้วจิัย ศาสตราจารยพ ์ ิเศษวิศิษฏ ์ วิศิษฏส ์ รอรรถ นกัศึกษาวปอ. ๒๕๕๖ การวิจยั เรืÉองการพฒั นาระบบการบงัคบั คดีแพ่งกับการเสริมสร้างศกัยภาพในการ แข่งขนัและความมนคงของประเทศไทย Éั มีวตัถุประสงค์เพÉือศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบระบบการ บงัคบัคดีแพ่งของประเทศไทยกบัแนวปฏิบตัิทÉีดีเลิศในระดบั ระหวา่ งประเทศ ตลอดจนเสนอแนะ แนวทางในการพฒั นาการบังคับคดีแพ่งของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ มาตรฐานระหว่างประเทศโดยเอกสารวิจยัฉบบั นÊีมุ่งศึกษาระบบการบงัคบัคดีแพ่งในประเด็นดา้น การยึดทรัพยส์ิน การอายดัทรัพยส์ ิน การจาํหน่ายทรัพยส์ ิน และการนํานวตักรรมต่างๆ โดยเฉพาะ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชใ้นการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการบงัคบัคดีแพ่งโดยการวจิยั ฉบับนีÊเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ ซÉึงผลการวิจยัพบว่าการบงัคบัคดีแพ่งเป็นกระบวนการสําคญั ใน เชิงเศรษฐกิจในการผลกัดันทรัพยส์ินออกสู่ระบบเศรษฐกิจ ซÉึงกระบวนการบงัคบัคดีแพ่งทีÉมีผล ต่อระบบเศรษฐกิจมากทีÉสุดคือการขายทอดตลาดโดยหากศึกษาเปรียบเทียบกบั สาธารณรัฐเกาหลี สหรัฐอเมริกา และประเทศสิงคโปร์พบว่า แม้ว่ากระบวนการและขÊนตอนตามกฎหมายในการ ั บงัคบัคดีแพ่งของประเทศไทยไม่ต่างกบั ๓ ประเทศดงักล่าวมากนกั แต่ระยะเวลาในการบงัคบัคดี มีความแตกต่างกนัค่อนขา้งสูง โดยมีปัจจยัทÉีสําคญั คือกระบวนการบงัคบัคดีแพ่งผูม้ีอาํนาจหนา้ทีÉ รับผิดชอบในการจาํ หน่ายทรัพย์สินในคดีแพ่ง สถานทÉีในการจาํ หน่ายทรัพยส์ ินในคดีแพ่ง และ รูปแบบของการจาํหน่ายทรัพยส์ินในคดีแพ่งดงันÊนั การวิจยัฉบบั นÊีจึงไดเ้สนอขอ้ เสนอแนะทÊงใน ั เชิงกฎหมายและเชิงนโยบาย กล่าวคือ ในด้านกฎหมาย กรมบังคับคดีควรปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบให้ทันสมยัมากขÊึน พิจารณาโอนภารกิจทีÉไม่จาํ เป็นให้ภาคเอกชนโดยเฉพาะการผลกัดนั ทรัพยส์ินในคดีแพ่งบางประเภท และปรับปรุงระบบและเพÉิมช่องทางการผลกัดนั ทรัพยส์ิน สําหรับ ในดา้นโยบายกรมบงัคบัคดีควรส่งเสริมการใช้ระบบสารสนเทศในการบงัคบัคดีทÊงระบบ ั นาํระบบ การประมูลทรัพยส์ินทางอินเตอร์เน็ท (e-Auction) มาใช้ในการจาํหน่ายทรัพยส์ินในคดีแพ่ง มุ่งเน้น ผลกัดนั ทรัพยส์ินในเชิงรุกมากขÊึน ส่งเสริมการไกล่เกลÉียขอ้ พิพาททางเลือกเชิงรุกให้มากขÊึน และ เสริมสร้างความร่วมมืออยา่ งตอ่ เนืÉองกบั หน่วยงานตา่ งๆ ทÊงภายใน และภายนอกประเทศ ั

abstract:

ABSTRACT Title Developing Civil Case Enforcement System to Increase Competitiveness and National Economic Security of Thailand Field Politics Name Professor Wisit Wisitsora-At Course NDC Class 56 The research paper entitled “Developing Civil Case Enforcement System to Increase Competitiveness and National Economic Security of Thailand” aims to examine Thailand’s civil case enforcement system both policy and legal aspects, make comparative analyses with best practices of Korea, Singapore and the United States, and subsequently provides a set of policy and legal recommendations to develop the existing civil case enforcement system to meet with the international standards. The paper focuses on the important aspects of civil case enforcement system, namely attachment and seizure of assets, sale of assets, and the use of information and computerized technologies. It also examines problems, difficulties and analyze the World Bank’s indicators that measures efficiency of civil case enforcement system. This paper is a qualitative research, which processes data, statistics, and information from various sources including government agencies, laws and regulations, the World Bank’s website, researches as well as related websites of the selected countries. The research finds that civil case enforcement is an important factor contributing directly to competitiveness and economic security. In addition, the comparative analysis highlights several differences and gaps that need to be addressed, including civil case enforcement process, competent agency in charge of realization of assets, as well as venues and methods of realization of assets. The research proposes a set of policy and legal recommendations, which are, improving laws and regulations; considering the privatization of certain subsidiary activities, in particular the realization of certain types of assets; improving and increasing the channels of asset realization; maximizing the utilization of information technology; introducing e-Auction system for asset realization; emphasizing on proactive means of asset realization; promoting Alternative Dispute Resolution (ADR) more actively; and strengthening and promoting continuous cooperation with all agencies concerned, both domestic and ones.