Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัญหาและแนวทางแก้ไขความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงเงินทุนของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วีระพงศ์ ศุภเศรษฐ์ศักดิ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง ปัญหาและแนวทางแก้ไขความเหลื่อมล้้าในการเข้าถึงเงินทุนของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs) ลักษณะวิชาการเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายวีระพงศ์ ศุภเศรษฐ์ศักดิ์หลักสูตร วปอ.รุ่นที่๖๐ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาถึงปัญหาความเหลื่อมล้้าในการเข้าถึงเงินทุน ของ SMEs โดยวัดความเหลื่อมล้้าทางด้านรายได้ของนิติบุคคลไทย ๒) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการก้าหนดความเหลื่อมล้้าในการเข้าถึงเงินทุนของ SMEs โดยการทดสอบต้นทุนทางการเงิน ระหว่างบริษัทขนาดใหญ่และขนาดเล็ก และศึกษาถึงผลกระทบของความเหลื่อมล้้าในบริษัทที่ ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเด็นของการเสียภาษีเงินได้และ ๓) เสนอแนะแนวทาง แก้ไขความเหลื่อมล้้าในการเข้าถึงเงินทุนของ SMEs โดยจะท้าการศึกษาเฉพาะนิติบุคคลที่จด ทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยใช้จ้านวนดอกเบี้ย จ่ายเมื่อเทียบกับสินทรัพย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ -๒๕๕๙ มาวัดความเหลื่อมล้้า การวิจัยนี้เป็นการ วิจัยเชิงปริมาณโดยมีประชากรคือผู้ประกอบการทั้งหมดในประเทศไทยในช่วงปี ๒๕๕๐ -๒๕๕๙ การวิจัยนี้ใช้ Gini Coefficient ในการวัดความเหลื่อมล้้าด้านรายได้ของกลุ่มตัวอย่าง นิติบุคคลจด ทะเบียน (บจ.) ใน ๑๓ อุตสาหกรรม จ้านวน ๓๙๖,๐๓๖ บริษัท และใช้ข้อมูลของบริษัทจดทะเบียน ใน SET และ maiจ้านวน ๖๓๗ บริษัท ในช่วงปี ๒๕๕๓ -๒๕๕๙ ในการศึกษาต้นทุนทางการเงิน ของบริษัทขนาดใหญ่และขนาดเล็กและใช้ข้อมูลงบการเงินของบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์จากกรมการค้าภายในจ้านวน ๑๖,๘๔๔ บริษัท ตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๙ เพื่อศึกษา ประเด็นของการเสียภาษีเงินได้ผลของงานวิจัยพบปัญหาความเหลื่อมล้้าในเกือบทุกธุรกิจ โดยกลุ่ม การเงิน โทรคมนาคม และการผลิตมีความเหลื่อมล้้ามากที่สุด โดยอาจอธิบายได้ว่าปัญหาดังกล่าวมี สาเหตุมาจากปัญหาเรื่องการเข้าถึงเงินกู้และยังพบว่าอัตราดอกเบี้ยจ่ายที่แท้จริงในกลุ่มรายได้น้อยข สูงกว่ากลุ่มรายได้สูงในทุกอุตสาหกรรม และพบว่าบริษัทขนาดเล็กยังสามารถเพิ่มระดับการใช้ หนี้สินเพื่อลดอัตราภาษีที่แท้จริงได้ ซึ่งอาจแสดงโดยนัยถึงความไม่มีประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการโครงสร้างเงินทุนในบริษัทขนาดเล็ก และ/หรือ การไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ซึ่ง สนับสนุนผลการศึกษาก่อนหน้า ที่ระบุว่าบริษัทที่มีข้อจ้ากัดในการเข้าถึงเงินทุนจะมีแนวโน้มใน การเลี่ยงภาษีมากกว่า ซึ่งอาจกระทบต่อความมั่นคงของการคลังด้วย ดังนั้นภาครัฐควรเข้ามา ช่วยเหลือเรื่องการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของ SMEs โดยการเพิ่มการให้สินเชื่อผ่านสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ เช่น ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ธนาคาร เพื่อการส่งออกและน้าเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)และบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาด ย่อม (บสย.) รวมถึงพลักดันให้ธนาคารพาณิชย์ปล่อยสินเชื่อแก่ SMEs มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังต้อง ให้การส่งเสริมการด้าเนินธุรกิจของ SMEs โดย ส้านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (สสว.)ควรท้าหน้าที่ให้ความรู้กับ SMEs ในการผลักดันการด้าเนินธุรกิจผ่าน Digital Platform ซึ่งจะช่วยลดต้นทุน เพิ่มช่องทางการขายแล้วยังเป็นการเสริมสร้างให้มีการเข้าถึงเงินทุนได้มากขึ้น ผู้ประกอบการเองก็ต้องมีการปรับตัว มีระบบบัญชีที่เชื่อถือได้ มีการใช้เงินทุนให้ถูกวัตถุประสงค์ ด้วย

abstract:

ABSTRACT Title The Problems and Solutions of the Gap in Access to Credit for Small and Medium Enterprises (SMEs) Field Economics Name Werapong Suppasedsak Course NDC Class 60 The study has three main objectives 1) to study the gap in access to credit for SMEs by measuring the gap in revenue of limited companies; 2) to analyze factors influencing the determination of gap in access to credit for SMEs by measuring the difference in cost of fund between small and large companies to investigate on the inequality of access to credit in Thai commercial banking sector and to study the impact of the gap in income tax payment of non￾listed companies; and 3) to propose the solutions to reduce the gap in access to credit for SMEs. This study will be conducted only on the juristic persons registered with the Stock Exchange of Thailand or Department of Business Development, Ministry of Commerce by using the amount of interest paid relative to assets as the annual data from the year 2007 to 2016 in measuring the gap. The study is a quantitative research on all companies in Thailand in 2007 to 2016. To study the gap in revenue, we use Gini Coefficient on a sampling of 396,036 limited companies and dividing them into 13 industry clusters. To measure the difference in cost of fund, we use a sampling of 637 companies listed on SET and MAI in 2010 to 2016. To study tax behavior of non-listed companies, we use a sampling of 16,844 companies in 2010 to 2016. The study indicates that the highest gaps in revenue between small companies and large companies are in Financial, Telecommunication and Manufacturing sector. The study indicates that access to fund is one of the biggest cause of that gap. The study shows that cost of fund in small companies are higher than that of large companies across all industries. It indicates that there are rooms for small companies to increase their leverage and enjoy the benefit of Tax Shield and that small companies are not efficient in managing their capital structures or they have limited access to credit. The result supported previous studies that claim companies with limit access to credit have higher tendency to avoid tax payment which is problematic to the government and its future revenue. Thus, the government should help reduce the gap by increasing itsSMEs lending through specialized financial institutions such as SME Bank, EXIM Bank and TCG and by incentivize commercial banks to increaseSMEs lending. To improve SMEs operation, the government through OSMEP can educate SMEs owners on Digital Platform that will reduce their costs and increase their sales which will eventually increase their access to credit. SMEs owners themselves can improve their access to credit by keeping a more credible financial statements and by being more disciplinedin their use of funding.