Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่จังหวัด เพื่อพัฒนาระบบราชการสู่ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิชิตร์ แสงทองล้วน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการบูรณาการการทา งานร่วมกนัของหน่วยงานภาครัฐ ท้งัส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและทอ ้ งถิ่นในพ้ืนที่จงัหวดั ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วจิัย นายวิชิตร์ แสงทองล้วน หลกัสูตร วปอ. รุ่นท ี่ ๖๐ พระราชบญั ญตัิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แกไ้ขเพิ่มเติม ได้ จดัระเบียบการบริหารราชการแผน่ ดิน ออกเป็น (๑) การบริหารราชการส่วนกลาง (๒) การบริหาร ราชการส่วนภูมิภาคและ (๓) การบริหารราชการส่วนทอ้งถิ่น โดยการบริหารราชการส่วนกลาง เป็ นการบริหารราชการแบบรวมอ านาจ มีอ านาจและใช้อ านาจเพื่อการบริหารและจัดการให้เป็ นไป ตามนโยบายที่กา หนด ขณะที่การบริหารราชการส่วนภูมิภาคจะเป็นการบริหารราชการตามระบบ แบ่งอา นาจ โดยรับมอบหมายภารกิจและอา นาจหน้าที่จากราชการส่วนกลางเพื่อนา ไปปฏิบตัิใน พ้ืนที่ ส าหรับการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นเป็นการบริหารจดัการตามระบบกระจายอา นาจ มีอา นาจในการตดัสินใจเกี่ยวกบักิจการต่าง ๆ ที่เป็นสาธารณะของทอ้งถิ่นดว้ยตนเอง ซ่ึงจา เป็นตอ้ง มีการประสานความร่วมมือกนัอยา่ งหลากหลาย โดยยึดหลกัการ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแกไ้ขปัญหา และร่วมรับผดิชอบในผลที่เกิดข้ึน อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบตัิแล้วการประสานความร่วมมือของราชการท้งั ๓ ส่วน ดงักล่าวยงัขาดประสิทธิภาพและไม่ประสบผลส าเร็จ ซ่ึงอาจเกิดจากปัญหาและขอ้จา กดัในหลาย ประการเช่น ปัญหาการขาดเอกภาพในการบริหารราชการของผวู้า่ ราชการจงัหวดั หรือบทบาทและ อ านาจหน้าที่ยังคงมีการทบั ซ้อนกัน ดงัน้ันวตัถุประสงค์ของงานวิจยัน้ีจึงเป็นการศึกษาและ วเิคราะห์เพื่อหารูปแบบหรือแนวทางการปฏิบตัิงานร่วมกนัของหน่วยงานภาครัฐท้งัส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาคและทอ้งถิ่นที่อยู่ในพ้ืนที่จงัหวดั โดยมีขอบเขตเริ่มตน้ จากการศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบ การท างานร่วมกนั ภายใต้นโยบายรัฐบาลหรือยทุ ธศาสตร์การพฒั นาดา้นการท่องเที่ยว ซึ่งมีนโยบาย ในการเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว จากน้ันจะเป็นการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องและทา ให้การ ขับเคลื่อนการพัฒนาประสบผลส าเร็จ ส าหรับวิธีการดา เนินการวิจยัจะเป็นการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ้ การศึกษา ข้อเท็จจริงจากการลงพ้ืนที่ที่มีตวัอย่างและรูปแบบการบูรณาการการทา งานร่วมกนั ในพ้ืนที่รวมท้งั ข รวบรวมความเห็นที่ไดร้ับจากสัมภาษณ์ผูบ้ ริหารจงัหวดัและหัวหน้าหน่วยงานภาครัฐในประเด็น การพฒั นาการท่องเที่ยว ท้งัน้ีผลการวจิยัดงักล่าวประกอบดว้ย ๓ ส่วนหลกั ไดแ้ก่ ๑. ตัวอย่างรูปแบบของการบูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกันของหน่วยงาน ภาครัฐในพื้นที่จังหวัด ที่มีการเริ่มตน้จากการวเิคราะห์และสภาพปัญหาประเด็นการพฒั นาหรือการ แก้ไขปัญหาที่ตอ้งอาศยัการบูรณาการจะมีผลต่อการกา หนดภาคส่วนหรือผูท้ ี่มีบทบาทหลกัใน การบูรณาการ จากน้นั เป็นข้นั ตอนการเชื่อมโยงแผนงานที่จัดท าภายใต้กลไกห่วงโซ่คุณค่าแบบ เบ็ดเสร็จ(Total Value Chain) รวมท้งัการดา เนินการที่เกี่ยวขอ้งกบัการจดับทบาทอา นาจหนา้ที่และ ความสัมพนัธ์ที่เป็นทางการและที่ไม่เป็นทางการระหวา่ งตวัแสดงของรัฐระดบั ต่าง ๆ และภาคส่วน อื่นที่เก้ือหนุนต่อการทา งานร่วมกนั เพื่อให้ไดรู้ปแบบความสัมพนัธ์ที่เหมาะสมกบัการดา เนินการ ให้ส าเร็จและเป็ นไปตามเป้ าหมายการพัฒนา ตลอดจนการประเมินผลโดยภาคส่วนต่าง ๆ ผ่าน กลไกต่าง ๆ เช่น ห้องปฏิบัติการนวัตกรรมภาครัฐ (Government Lab) ๒. ปัจจัยสู่ความส าเร็จในการบูรณาการการท างานที่ส าคัญ และช่วยให้ขับเคลื่อน การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไดแ้ก่ความเขา้ใจของบุคลากรและการสื่อสารอย่างทวั่ ถึง และมีเป้ าหมายเดียวกัน การอนุมัติอนุญาตในบริการภาครัฐที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การ ประเมินเพื่อให้เกิดความมนั่ ใจว่าห่วงโซ่คุณค่าตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่าง แท้จริง ๓. ปัจจัยสู่ความส าเร็จในการบูรณาการการท างานด้านการท่องเที่ยว ไดแ้ก่การ กา หนดช่วงเวลาในการสนบั สนุนและประชาสัมพนัธ์ที่เหมาะสมให้เกิดการท่องเที่ยวอยา่ งต่อเนื่อง การบูรณาการการเชื่อมโยงกบัการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และผปู้ระกอบการท่องเที่ยว ส าหรับข้อเสนอแนะในการบูรณาการน้ันจา เป็นต้องได้รับการสนับสนุนท้ังด้าน นโยบายและระบบการบริหารจัดการ โดยด้านนโยบายจะต้องส่งเสริมสนบั สนุนให้มีการบูรณาการ ระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ โดยการตรากฎหมายใหม่ หรือพิจารณากฎหมายหรือระเบียบที่มีอยู่ใน ปัจจุบันที่เอ้ือหรือส่งผลต่อการบูรณาการ รวมท้งัการปฏิรูประบบงบประมาณเชิงพ้ืนที่ที่สามารถ บริหารจดัการไดเ้บ็ดเสร็จในพ้ืนที่ในขณะที่ด้านระบบบริหารจัดการในเรื่องการมอบอ านาจที่อาจ มอบบางส่วนในเรื่องที่จา เป็นหรือมีความเร่งด่วนในการแกไ้ขปัญหาหรือวางแผนการพฒั นาใน ระยะยาว รวมท้งัพิจารณาตามศกัยภาพการพฒั นาของจงัหวดัได ้อยา่ งไรก็ตาม การวิจยัคร้ังน้ีเป็น เพียงการศึกษาเบ้ืองตน้ และมีขอ้จา กดัในการหาตวัอยา่ งที่ไม่หลากหลาย ดงัน้นั ควรตอ้งมีการศึกษา ในประเด็นที่กวา้งขวางมากข้ึน ท้งัในเรื่องของประเด็นการพฒั นาในจงัหวดั และพ้ืนที่ตวัอยาง่ เพื่อให้ เกิดการบูรณาการไดห้ลากหลายมิติและเกิดผลเป็นรูปธรรมอยา่ งยงั่ ยนื

abstract:

Abstract Title The Collaboration among central, regional and local organization in the province Field Politics Name Mr. Vichit Sangthongloun Course NDC Class 60 The administrative services of the executive branch of the government are regulated by the national government organization Act, BE 2534 (1991). Under this act, services are divided into three levels: central, provincial and local. Central level consists of ministries and departments making policies to deconcentrate to provincial and centralize to local level. It is really essential to create the collaboration among three levels to achieve the government policies or strategies. However, there are some constraints resulting in unsuccessful collaboration such as the governor’s out of unity of command or the overlap of three levels’ role and responsibility. Therefore, objectives of research concentrate on analyzing the proper model, method or mechanism leading to the tangible collaboration. This research is initially scoped by analyzing, one of crucial government policies, tourism processes particularly how to increase the overall tourism income, then collecting relevant factors for collaboration. The methodology is started from processing literature reviews and followed by gathering fact and data from field trips focusing on the tourism policy and strategy. The result comprises of three significant parts, firstly the collaboration model must be necessary because it will begin how to specify problems, potentials and stakeholders, then making the development plan having the total value chain as a mechanism. After receiving the suitable development plan, the official or unofficial participation among three levels is essential depending on different paradigms and circumstances. The evaluation is the last step for the model because private or public sector can utilize the useful mechanism such as government lab process to make for the future development. Apart from the collaboration model, there are some important factors to accomplish the collaboration, for instance, the widespread communication in the organization, rapid and effective permission in the public service, including the evaluation to make sure that the value chain of each strategy covers citizen demand. Finally, focusing on tourism policy or strategy, what is substantially considered are the appropriate period for public relations, the cooperation with entrepreneur or Tourism Authority of Thailand. Finally, the government policy should be recommended to promote the collaboration in terms of laws and regulations, for example, the public budget reform for area – based budget implementation including the role and responsibility classification among central, provincial and local level. Moreover, the administrative recommendation is also needed especially the central authorization should be considered in various model depending on problem, potential or urgent of each province. For the future research, it is covered not only tourism policy or strategy but also other crucial policies or strategies in order to the sustainable and systematic collaboration.