เรื่อง: ยุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ของตำรวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี วันไชย เอกพรพิชญ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ยุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
ของต ารวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พล.ต.ต. วันไชย เอกพรพิชญ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่60
งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินองค์ประกอบของยุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อ
การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในด้านบริบท ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการ
ผลผลิต ความพึงพอใจเกี่ยวกับประสิทธิภาพการป้องกันและการปราบปรามอาชญากรรมของต ารวจ
และความเชื่อมั่นต่อการปฏิบัติงานของต ารวจ ใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ จากกลุ่มตัวอย่าง
ก าลังต ารวจ 613 คน ประชาชน 775 คน และผู้บริหารองค์กรระดับสูงต ารวจภูธรภาค 4 คน เก็บข้อมูล
โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลข
คณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ก าลังต ารวจมีระดับความคิดเห็นเรื่องเน้นการปรากฏตัวของเจ้าหน้าที่
ต ารวจ โดยใช้เจ้าหน้าที่ต ารวจในเครื่องแบบออกตรวจท้องที่มากที่สุด ร้อยละ 48.3 มีค่าเฉลี่ยระดับ
ความคิดเห็น เรื่อง หากมีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้นต้องรีบสืบสวนจับกุมให้ได้อย่างรวดเร็วเพื่อไม่ให้เป็น
เยี่ยงอย่างและคนร้ายไม่กล้ากระท าผิด มากที่สุด เท่ากับ 3.81 ประชาชนมีระดับความพึงพอใจ
เกี่ยวกับประสิทธิภาพการป้องกันอาชญากรรม เรื่อง เจ้าหน้าที่ต ารวจได้แนะน าประชาชนในการ
ป้องกันชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 29.0 การปราบปรามอาชญากรรม เรื่อง เจ้าหน้าที่ต ารวจสามารถ
ติดตามจับกุมตัวคนร้ายได้อย่างรวดเร็ว ร้อยละ 28.0 ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงาน
ของต ารวจ เรื่อง เจ้าหน้าที่ต ารวจด าเนินการสนับสนุนยกย่องเชิดชูเกียรติประชาชนที่มีส่วนร่วมในการ
ป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในชุมชน ร้อยละ 29.0 และค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
ของประชาชน เท่ากับ 7.50, 7.49 และ 7.59 การสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่า เห็นสมควรให้มีและควร
น าไปใช้ในระดับพื้นที่ต ารวจภูธรจังหวัด และน าไปใช้กับประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ ตามตัวชี้วัด (KPI)
นครปลอดภัย
ข้อเสนอแนะ หน่วยงานงบประมาณจะต้องจัดสรรงบประมาณส าหรับการจัดสวัสดิการ
ที่มีความจ าเป็นต่อการด ารงชีพของต ารวจ หน่วยปฏิบัติควรประกาศเป็นนโยบายหลักเพื่อผลักดันให้มี
การปฏิบัติ ผู้บริหารควรเป็นผู้น าในการสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนองค์กร ส านักงานต ารวจแห่งชาติ
ควรก าหนดให้กองบัญชาการต ารวจภูธรภาค ต ารวจภูธรจังหวัด ต้องจัดท ายุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อการ
รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และเป็นแกนหลักในการปฏิบัติ และน า
ยุทธศาสตร์เชิงรุกไปใช้ในระดับพื้นที่ หน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบในการปฏิบัติในพื้นที่น ายุทธศาสตร์
เชิงรุกไปใช้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ ตามตัวชี้วัด (KPI) อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการติดตาม
และประเมินผลการน าไปใช้อย่างต่อเนื่อง
abstract:
ข
ABSTRACT
Title : The offensive strategy for safety of life and property (SLP) by
Nakhonsrithammaraj Provincial Police region
Field : Social - Psychology
Name : Pol.Maj.Gen. Wanchai Akpornpis Course NDC Class 60
The offensive strategy for safety of life and property (SLP) by
Nakhonsrithammaraj Provincial Police region The purpose of this research is to evaluate
the element of The offensive strategy for SLP in term of context, basic factor and
productivity procedure. It also includes the satisfaction about the police officer
responsibility regarding the prevention and apprehension criminal, and reliability of
police. The researcher uses both of qualitative and quantitative methods. The survey
gathers information from 613 policemen, 775 common people and three of the high
authority persons. The content in this survey is a general question and in-depth
interview. The researcher analyzes the data by using percentage, mean, standard
deviation and content analysis.
The result shows that 48.3% of police officers say the appearance of the
uniformed police in each area needs to be more emphasized. The crime needs to be
tracked down as soon as possible, say by 3.81% of people. 29.0% of people are
satisfied with the advice about SLP from the officers. 28.0% of people are satisfied
with the efficiency of the police to suppress a crime. 29.0% of people believe in
police reliability. They are also pleasant that the officers show an honor to good
Samaritan. Their satisfactory mean indicate 7.5, 7.49 and 7.59. According to the indepth interview, comments say that this survey should be implemented in other
provincial region to gather an information from people by KPI.
This research suggests that the budget department needs to distribute
necessary benefits for the police officer. The practical team should push it to become
a main policy. The administrators need to be the leader regarding to communicating
and changing in Thai Royal police. Plus, they should order provincial police region to
plan for the offensive strategy of SLP and held it as a core. The strategy should be
executed in each area. The department in charge should adapt the plan to their own
citizen via KPI. Finally, they have to trace and evaluate the outcome to ensure the
successful results.ข