เรื่อง: แนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์ด้วยระบบการตรวจสอบกิจการ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิณะโรจน์ ทรัพย์ส่งสุข
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์ด้วยระบบการตรวจสอบกิจการ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นายวิณะโรจน์ ทรัพย์ส่งสุข หลักสูตร วปอ. ร่นที
ุ ๕๖
การศึกษาวิจัย เรื+ อง แนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์ด้วยระบบ
การตรวจสอบกิจการ มีวัตถุประสงค์เพื+อศึกษาสภาพข้อเท็จจริงของการตรวจสอบกิจการสหกรณ์
ในปัจจุบัน เพื+อศึกษาปัญหาและอุปสรรคที+เกิดขึ1นในกระบวนการตรวจสอบกิจการ และเพื+อ
กาหนดแนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์ด้วยระบบการต ํ รวจสอบกิจการ โดยการทอด
แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มกบกลุ ั ่มเป้ าหมายในพื1นที+ ๗๗ จังหวัด
ได้แก่ ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ ๒๘๐ ราย ผู้บริหารสหกรณ์ ๒๙๐ ราย ผู้แทนกรมตรวจบัญชี
สหกรณ์ ๘๗ แห่ง และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการตรวจสอบกิจการ ๒ ราย ซึ+ งมีผลการวิจัย ดังนี1ด้าน
สภาพข้อเท็จจริงของการตรวจ&&สอบกิจการสหกรณ์ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่มีอายุ ๔๖ - ๕๕ ปี
การศึกษาสูงสุดตํ+ากว่าปริญญาตรีมีประสบการณ์การตรวจสอบกิจการ ๑ - ๒ ปี ส่วนใหญ่เคยเป็ น
กรรมการสหกรณ์มาก่อน และได้รับการอบรมเกี+
ยวกับการตรวจสอบกิจการมาแล้ว มีการเข้า
ปฏิบัติงานทุกเดือน ๆ ละ ๑ - ๒ วัน มีการรายงานผลการตรวจสอบกิจการประจําเดือนและรายงาน
ผลการตรวจสอบกิจการประจําปี เป็ นลายลักษณ์อักษร ด้านปัญหาและอุปสรรคที
เกิดขึ-นใน
กระบวนการตรวจสอบกิจการ การที+ผู้ตรวจสอบกิจการขาดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะต่าง ๆ ใน
เรื+องระเบียบและคําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ์และหน่วยงานที+เกี+ยวข้อง การวิเคราะห์ข้อมูล
ทางการเงินการบัญชี และการใช้คอมพิวเตอร์ การได้รับค่าตอบแทนที+ไม่เหมาะสม การที+สมาชิก
สหกรณ์ไม่เห็นความสําคัญ / ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที+ของผู้ตรวจสอบกิจการ ช่องทางการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ไม่ทัวถึง เป็ นปัญหาและอุปสรรคในการตรวจสอบก + ิจการ และด้านการกําหนดแนว
ทางการพัฒนาระบบการตรวจสอบกิจการให้เป็ นกลไกสร้างความเข้มแข็งแก่สหกรณ์ เห็นควรให้มี
การปรับปรุงคู่มือ รูปแบบรายงาน ระเบียบ ประกาศ และคําแนะนํานายทะเบียนสหกรณ์ที+เกี+ยวข้อง
การกาหนดค ํ ่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ จัดหลักสูตรการอบรมให้สอดคล้องกบระดับความรู้ ั
ของผู้ตรวจสอบกิจการและประเภทของสหกรณ์ การขึ1นทะเบียนผู้ตรวจสอบกิจการ การสนับสนุน
งบประมาณด้านการอบรม การจัดตั1งและขับเคลื+อนชมรมผู้ตรวจสอบกิจการ และการจัดสัมมนาผู้
ตรวจสอบกิจการทั1งระดับจังหวัด และระดับภาค
abstract:
6
ABSTRACT
Title Approach to strengthen co-operative with the business supervision system
Field Economics
Name Vinaroj Supsongsuk Course NDC Class 56
The study on research concerning “Approach to strengthen co-operative with the
business supervision system” aims at studying the facts of current co-operative business
supervision in order to learn about problems and obstacles existing during the process and to pave
the way in strengthening co-operatives with the business supervision system. Questionnaires,
interviews in depth as well as talks with prospects in the area of 77 provinces will be
implemented. The people include 280 business supervisors, 290 administrators, 87 Cooperative
Auditing Officers and 2 experts on business supervision. The result of the study shows that at
present most of the business supervisors are aged of 46-55 years old with Under graduation
Bachelor’s degree. 1-2 year-work experience, most of them used to be co-operatives’ committees
who have been trained about business supervision before. Supervising 1-2 days monthly, they
present monthly and yearly report on business supervision in black and white. Furthermore, they
found that the problems and obstacles during the process are due to the lack of knowing and
understanding including skills on regulations and recommendations of the registrar and related
organizations. They do not know how to analyze financial and accounting data. Computer
illiteracy and inappropriate remuneration are parts of hardship excluding that co-operatives’
members consider them not as important as their roles and duties that yet unknown nor
disseminated. As for the way pavement mechanism to strengthen co-operative business
supervision, the study point that handbooks, report forms, regulations, announcements as well as
recommendations of the registrar should be adapted. Remuneration and benefits and advisable to
improve together with training courses apt to each kind of co-operatives and business supervisors’
knowledge. In addition, in order to enhance co-operatives’ business supervisors, to register them,
to support budget for training, to set up an association and to organize provincial and regional
seminars are preferable.