Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การใช้การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของชาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง รุยาภรณ์ สุคนธทรัพย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การใช้การสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของชาติ ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วิจัย นางรุยาภรณ์ สุคนธทรัพย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. ศึกษาการสื่อสารข้อมูลยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ไปสู่การรับรู้ของประชาชนภายในประเทศ และระดับนานาชาติ รวมถึงรับทราบปัญหาและอุปสรรค ของการสื่อสาร ๒. ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Communication) และการ ใช้การสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และ ๓. เสนอแนะแนวทางให้กับรัฐบาลในการน าการสื่อสารเชิงกลยุทธ์มาใช้เพื่อช่วยให้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ประสบความส าเร็จตามจุดมุ่งหมาย โดยประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัยคือ ๑. เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับการเตรียมการระบบและแผนการสื่อสารข้อมูลยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ไปสู่การรับรู้ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ๒. ชี้ให้เห็นถึงปัญหาและ อุปสรรคของการสื่อสารข้อมูลยุทธศาสตร์ชาติ๒๐ ปี และ ๓. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด และวิธีการของการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Communication) และการใช้การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี จากการวิจัยพบว่าการสื่อสาร เชิงกลยุทธ์จะสามารถมีส่วนในการส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของชาติได้จริง โดยอาศัย กลไกและช่องทางในการประชาสัมพันธ์ในหลายๆ รูปแบบ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ อย่างไร ก็ตามสิ่งที่จ าเป็นต่อความส าเร็จคือ กระบวนการก าหนดกลยุทธ์ และการวางแผนงานที่เป็นระบบ โดยกระท าอย่างเป็นขั้นตอนคือ การเข้าใจตนเองและสภาพแวดล้อม การปรึกษาหารือผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย การก าหนดเป้าประสงค์ที่ปฏิบัติได้จริง การพัฒนาและก าหนดยุทธศาสตร์ การจัดสรร ทรัพยากรและบุคลากร การจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ การก าหนดกรอบเวลา และการก าหนด ตัวชี้วัดความส าเร็จที่เป็นรูปธรรม และที่ส าคัญเป็นอย่างยิ่งคือ การเข้าใจและก าหนดภาพใหญ่ ของการสื่อสารเชิงกลยุทธ์เรื่องยุทธศาสตร์ชาติอย่างรวมศูนย์ ด้วยการมีหน่วยงานที่รับผิดชอบ เป็นการเฉพาะ ทั้งนี้ อุปสรรคส าคัญของการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ก็คือการขาดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ การขาดการวางแผนประชาสัมพันธ์อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน ที่ชัดเจน และการด าเนินงานด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์แบบเดิมๆ โดยไม่เปิดรับความรู้และ วิทยาการสมัยใหม่ เครื่องมือ รวมทั้งช่องทางใหม่ๆ ในการสื่อสาร ซึ่งจะสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ให้กับการสื่อสารเรื่องยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปีได้ และช่วยให้ยุทธศาสตร์ชาติประสบความส าเร็จ ในทุกๆ ด้าน

abstract:

ABSTRACT Title : The Use of Strategic Communication to Increase National Com Petitiveness Field : Strategy Name: Mrs. Ruyaporn Sukontasap Course NDC Class 60 The twenty-year National Strategy is considered to be the top priority policy for the current government. Article 65 of the 2017 Constitution of Thailand clearly states that “the government shall arrange to establish a national strategy as the objective for a sustainable national development in accordance with the principle of good governance, to be used as the framework for the drawing up of various national economic and social development plans so that the plans would coincide with and support one another, to create the synergy that would help drive the plans to achieve their objectives.” The implementation and achievement of the twenty-year National Strategy will be evaluated, both within and outside of the country, in comparative terms, especially through national competitiveness indices developed by organizations such as the World Economic Forum (WEF) and the IMD Business School. Therefore, there is the need for the Thai government and relevant agencies to come up with a communication strategy that would enable target audiences to be fully informed about developments in the implementation of the National Strategy. Such target audience is local as much as international and involve representatives from all sectors. Aside from keeping the people informed, the objective of the communication strategy also aims to create better and more accurate understanding and support for the National Strategy. In order to achieve this end, this study argues that Strategic Communication and its techniques should be employed. Thus, this study discusses the twenty-year National Strategy, the concept of National Competitiveness, the indicators and measurement of National Competitiveness, and how Strategic Communication can be employed in the case of the twenty-year National Strategy. Interviews of practitioners of Strategic Communication have also been conducted. The study concludes that Strategic Communication can indeed play an important role in increasing the National Competitiveness of Thailand, given that the National Strategy is implemented in a systematic and efficient manner. The study also made recommendations on how Strategic Communication can be used to create an effective system of communication around the National Strategy. It also recommends that a specialized communication unit, with dedicated budget and resources, should be established, to focus only on systematic and strategic communication efforts on the National Strategy and its implementation.