Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาการศึกษาของกองทัพเรือสู่มาตรฐานสากล

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี มาศพันธุ์ ถาวรามร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาการศึกษาของกองทัพเรือสู่มาตรฐานสากล ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลเรือตรี มาศพันธุ์ ถาวรามร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐ การวิจัยเรื่อง การพัฒนาการศึกษาของกองทัพเรือสู่มาตรฐานสากล มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกมิติ ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี มีผลท า ให้ประเทศต่าง ๆ ในโลกต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และมีความเชื่อมโยงระหว่างกันมากขึ้น จนก่อให้เกิดปัญหาความมั่นคงทั่วทุกภูมิภาคของโลกในรูปแบบใหม่ หรือเรียกว่า“ภัยคุกคามรูปแบบใหม่” กองทัพเรือ เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล และ การปฏิบัติการทางทหารในทะเลจ าเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยน และพัฒนาองค์วัตถุและองค์บุคคล เพื่อรองรับภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ และตามมาตรฐาน ขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization : IMO) ที่มีหน้าที่ใน การก าหนดมาตรฐานและแนวปฏิบัติ เพื่อความปลอดภัย ในการเดินเรือและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทางทะเล การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพในลักษณะของการพรรณนาเชิงวิเคราะห์ ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาความมั่นคงทางทะเลรูปแบบใหม่ ที่ส าคัญและส่งผลกระทบ ต่อประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนที่ต้องให้ความส าคัญ ๔ ปัญหาหลักคือ การก่อการร้ายทางทะเล การกระท าอันเป็นโจรสลัดและการปล้นโดยใช้อาวุธ การลักลอบค้ายาเสพติด การลักลอบค้าอาวุธและ ภัยพิบัติ และวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ของนายทหารสัญญาบัตรที่ปฏิบัติงานภายในเรือยังไม่มีองค์ ความรู้กับการปฏิบัติที่เพียงพอกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทางทะเล ข้อเสนอแนะ กองทัพเรือ มีหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทาง ทะเล จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาของกองทัพเรือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของ นายทหารสัญญาบัตร ที่เป็นผู้น า ผู้ตัดสินใจในการปฏิบัติการทางเรือด้านต่าง ๆ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจและบทบาทหน้าที่ในการรักษาอธิปไตยของชาติ รวมทั้งเสริมสร้างความมั่นคงในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลที่ได้ก าหนดไว้ ABSTRACT Title RTN's educational development towards international standard Field Military ข Name Rear Admiral Massabhand Thavaramara Course NDC Class 60 The Enhance of Royal Thai Navy’s education to International Commitment Research has been prepared in order to handle the effect of globalization in entire expects including politic, economic, social context, technology and new innovation. This refers to a results of the growing scale of cross-border trade of economic, flow of capital and knowledge and rapid growth to globalization society. Nonetheless, the rewards of globalization can lead ´Non-Traditional Threat´, which is very diverse especially in maritime context, and several nations are being aware of it. Undoubtedly, Thailand has implemented a long-term strategies in order to prevent and protect nation interest and rein the social development in the country in long term aspect and continuously. National security strategy is a major framework for the country to meet the basic needs and security concerns of the citizens, and address external and internal threats to national security and national maritime interests as well as implementation and improving the efficiency of how national laws serve. The Royal Thai Navy (RTN) takes role of maritime security, responds to crises, defeats aggression, and protects the maritime commons. National security and globalization are inextricably linked, therefore, RTN needs to enhance a manpower and organization in order to achieve the latest mission and meet an international standard of International Maritime Organization: IMO, which is responsible to develop and preserve a comprehensive framework of regulations and policies for maritime security, technical cooperation, environment concerns and legal matters. Also monitoring exchanging knowledge among member states. Royal Thai Navy Academy (RTNA) is where naval cadets are trained to be a leader as well as to instil the core value of ethical study. In accordance to achieve the highest practicable standards of maritime, adaptability to globalization and continuing improving knowledge of occurrence of threats must be addressed, including responsible for measures the safety, security, transnational crime and prevent marine pollution as well. All data of this research has been collected, analysed in order to enhance the ability of RTN’s officer which is focusing in RTNA’s education framework. The findings of this research will efficiently generate a valuable impact to develop and maintain the national interest as well as being a better commander in Navy management. ค ค าน า การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาการศึกษาของกองทัพเรือสู่มาตรฐานสากล มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะภูมิศาสตร์ทางทะเล ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล และประเมินสภาวะแวดล้อม ความมั่นคงทางทะเล ได้แก่ สถานการณ์ความมั่นคง ภัยคุกคาม ปัญหา สิ่งล่อแหลม ต่อความมั่นคงที่ เกี่ยวข้องกับทะเล รวมทั้งวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับกิจการทางทะเล เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความรู้ ความสามารถ รวมทั้งขีดความสามารถ ที่ต้องการของก าลังพลที่ต้องปฏิบัติงานภายในเรือหลวงในการรักษาความมั่นคงของชาติ และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ที่ตอบสนองและเป็นเครื่องมือหลักตามยุทธศาสตร์ชาติด้าน ความมั่นคง ซึ่งกองทัพเรือเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก อีกทั้งยังเป็นแนวทางการพิจารณาการพัฒนา เสริมสร้างก าลังให้สอดคล้องกับสถานการณ์ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและอนาคต โดยมุ่งค้นคว้าหาข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผลประโยชน์ของชาติทางทะเลและการรักษา ผลประโยชน์ของชาติทางทะเลน ามาวิเคราะห์ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่าง ๆ และน าข้อมูลข้อเท็จจริงที่ รวบรวมได้ไปวิเคราะห์ โดยใช้ทฤษฎี หลักการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเปรียบเทียบกับรูปแบบองค์กร ง มาตรฐานในการปฏิบัติงานของนานาประเทศที่มีอยู่และน าผลที่ได้วิเคราะห์เสนอแนวทางการศึกษา ของกองทัพเรือสู่มาตรฐานสากล ต่อไป พลเรือตรี (มาศพันธุ์ ถาวรามร) นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐ ผู้วิจัย จ กิตติกรรมประกาศ เอกสารวิจัยฉบับนี้ ส าเร็จลงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ ที่รับผิดชอบวิชาการทหาร ที่ได้ให้ค าแนะน า ตรวจแก้ไขและเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา และ ปรับปรุงการเขียนให้ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี รวมทั้งขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ธุรการที่มีส่วนช่วยในการจัดพิมพ์ เอกสารให้เกิดความเรียบร้อย และที่ส าคัญที่สุดคือครอบครัวของกระผมที่เป็นก าลังใจให้การจัดท า เอกสารวิจัยในครั้งนี้ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี กระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ด้วยความพยายามและทุ่มเท เท่าที่เวลาจะอ านวยให้ จะส่งผลให้เอกสารวิจัยฉบับนี้เป็นประโยชน์กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไปใช้ ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ท าให้งานวิจัยครั้งนี้ส าเร็จได้อีกครั้ง พลเรือตรี (มาศพันธุ์ ถาวรามร) นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐ ผู้วิจัย สารบัญ ฉ หน้า บทคัดย่อ ก Abstract ข ค าน า ง กิตติกรรมประกาศ จ สารบัญ ฉ สารบัญตาราง ฌ สารบัญแผนภาพ ญ บทที่ ๑ บทน า ๑ ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ๑ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๕ ขอบเขตของการวิจัย ๕ วิธีด าเนินการวิจัย ๕ ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ๖ ค าจ ากัดความ ๗ บทที่ ๒ แนวความคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ๘ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) ๑๘ วิสัยทัศน์ของประเทศไทย ๒๐ ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ ๒๓ ยุทธศาสตร์ทหาร ๒๔ ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๑ ๒๕ วิสัยทัศน์กองทัพเรือ พุทธศักราช ๒๕๗๙ ๒๗ ยุทธศาสตร์กองทัพเรือ ๒๙ บทบาทกองทัพเรือ ๓๖ แนวทางการพัฒนากองทัพเรือ ๓๘ องค์การทางทะเลระหว่างประเทศกับการเดินเรือขนส่งสินค้าพาณิชยนาวีของไทย ๓๙ อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานการฝึกอบรม การออกประกาศนียบัตร และการเข้ายามของคนประจ าเรือ ค.ศ.๑๙๗๘ ตามที่แก้ไข ค.ศ.๑๙๙๕ และ ค.ศ.๒๐๑๐ ๔๑ สารบัญ (ต่อ) หน้า ช หลักสูตรต้นแบบ (IMO Model Course) ๔๓ บทบาทและมาตรการเพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงทางทะเล ของประเทศสิงคโปร์ ๔๗ โรงเรียนเดินเรือสิงคโปร์ ๔๘ โรงเรียนนายเรือ ๕๓ หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ การเดินเรือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาลัยเขตศรีราชา ๕๘ หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ ๕๙ กรอบแนวคิดการวิจัย ๖๑ สรุป ๖๒ บทที่ ๓ สภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงทางทะเลรูปแบบใหม่ และความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ๖๕ สถานการณ์และสภาพปัญหาความมั่นคงทางทะเลระดับโลก ๖๖ สถานการณ์และสภาพปัญหาความมั่นคงทางทะเลในระดับภูมิภาค ๖๘ สถานการณ์และสภาพปัญหาความมั่นคงทางทะเลของอาเซียน ๖๙ สถานการณ์และสภาพปัญหาความมั่นคงทางทะเลของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ๗๒ สถานการณ์และสภาพปัญหาความมั่นคงทางทะเลในพื้นที่ของประเทศไทย ๗๒ กรอบความร่วมมือของประชาคมอาเซียนเกี่ยวกับความมั่นคงทางทะเล ๗๖ ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ๗๙ แนวโน้มของปัญหาภัยคุกคามความมั่นคงทางทะเลรูปแบบใหม่ที่เกี่ยวข้องกับ ประเทศไทยและอาเซียน ๘๑ กฎหมายและข้อบังคับระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของชาติ ทางทะเล ๘๕ หน่วยงานที่รับผิดชอบความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ที่มี่หน้าที่ ในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ๙๑ ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร ๙๓ สรุป ๑๐๐ สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ ๔ การพัฒนาการศึกษาของกองทัพเรือสู่มาตรฐานสากล ๑๐๒ ซ การวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่ส่งผลกระทบ ต่อความมั่นคงทางทะเลของประเทศไทย ๑๐๓ การวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษา ของโรงเรียนนายเรือ ๑๐๔ สรุป ๑๑๓ บทที่ ๕ สรุปและข้อเสนอแนะ ๑๑๕ สรุป ๑๑๕ ข้อเสนอแนะ ๑๑๗ บรรณานุกรม ๑๑๙ ภาคผนวก ผนวก ก ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – พ.ศ.๒๕๗๙) ๑๒๑ ผนวก ข หลักสูตรเดินเรือ (NAUTICAL STUDIES) ๑๓๔ ผนวก ค หลักสูตรโรงเรียนนายเรือ หลักสูตร(ปรับปรุง) พ.ศ.๒๕๕๕ ๑๓๕ ผนวก ง ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการเดินเรือ (๕ ปี) ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี ๑๕๗ ผนวก จ รายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต ๑๖๕ ประวัติย่อผู้วิจัย ๑๗๐ สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ ฌ ๒ – ๑ แสดงหลักสูตรต้นแบบ ๗.๐๑-๗.๐๘ ๔๔ ๒ – ๒ แสดงหลักสูตรต้นแบบ ๗.๐๑-๗.๐๔ ๔๕ ๒ – ๓ หลักสูตรต้นแบบที่ต้องรับการอบรมเพิ่มเติมตามหลักสูตรต้นแบบ ๗.๐๓ นายประจ าเรือฝายช่างกล ๔๖ ๒ – ๔ หลักสูตรต้นแบบที่ต้องรับการอบรมเพิ่มเติมตามหลักสูตรต้นแบบ ๗.๐๔ ๔๗ ๒ – ๕ แนะนะความรู้ความสามารถที่ต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถสอดคล้องกับอนุสัญญา STCW 2010 ส าหรับนายประจ าเรือ ฝ่ายเดินเรือ ๕๖ ๒ – ๖ แสดงการแนะน าความรู้ความสามารถที่ต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติม เพื่อให้มีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับอนุสัญญา STCW 2010 ส าหรับนายประจ าเรือฝ่ายช่างกลเรือ ๕๗ สารบัญแผนภาพ หน้า แผนภาพที่ ๒ – ๑ แสดงบริบทและสภาพแวดล้อมภายนอกประเทศในอนาคต ๒๐ ปีข้างหน้า ๙ ๒ – ๒ แผนสอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นแรงผลักดันร่วมกัน ไปสู่เป้าหมาย ๒๐ ๒ – ๓ กรอบการพัฒนาระยะยาว ๒๒ ญ ๒ – ๔ ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของกองทัพเรือ ๓๗ ๒ – ๕ แสดงการฝึกภาคปฏิบัติในเครื่องฝึกจ าลองของนักเรียนหลักสูตรเดินเรือ ๕๐ ๒ – ๖ การฝึกภาคปฏิบัติในทะเลบนเรือใบ PALLADA ๕๑ ๒ – ๗ แสดงแผนผังการผลิตนายทหารสัญญาบัตรที่ปฏิบัติงานในต าแหน่งที่ส าคัญ บนเรือหลวง ๕๒ ๒ – ๘ การฝึกอบรมการด ารงชีวิตในทะเลของหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ ศูนย์ฝึกพาณิชยนาวี ๕๗ ๓ – ๑ แสดงภาพตัดขวางแสดงเขตทางทะเลตามอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ ๗๓ ๓ – ๒ แสดงเขตทางทะเลของประเทศไทย ๗๔ ๓ – ๓ แสดงแบบจ าลองการพัฒนาหลักสูตร และออกแบบหลักสูตร ๑๐๐

abstract:

ABSTRACT Title RTN's educational development towards international standard Field Military Name Rear Admiral Massabhand Thavaramara Course NDC Class 60 The Enhance of Royal Thai Navy’s education to International Commitment Research has been prepared in order to handle the effect of globalization in entire expects including politic, economic, social context, technology and new innovation. This refers to a results of the growing scale of cross-border trade of economic, flow of capital and knowledge and rapid growth to globalization society. Nonetheless, the rewards of globalization can lead ´Non-Traditional Threat´, which is very diverse especially in maritime context, and several nations are being aware of it. Undoubtedly, Thailand has implemented a long-term strategies in order to prevent and protect nation interest and rein the social development in the country in long term aspect and continuously. National security strategy is a major framework for the country to meet the basic needs and security concerns of the citizens, and address external and internal threats to national security and national maritime interests as well as implementation and improving the efficiency of how national laws serve. The Royal Thai Navy (RTN) takes role of maritime security, responds to crises, defeats aggression, and protects the maritime commons. National security and globalization are inextricably linked, therefore, RTN needs to enhance a manpower and organization in order to achieve the latest mission and meet an international standard of International Maritime Organization: IMO, which is responsible to develop and preserve a comprehensive framework of regulations and policies for maritime security, technical cooperation, environment concerns and legal matters. Also monitoring exchanging knowledge among member states. Royal Thai Navy Academy (RTNA) is where naval cadets are trained to be a leader as well as to instil the core value of ethical study. In accordance to achieve the highest practicable standards of maritime, adaptability to globalization and continuing improving knowledge of occurrence of threats must be addressed, including responsible for measures the safety, security, transnational crime and prevent marine pollution as well. All data of this research has been collected, analysed in order to enhance the ability of RTN’s officer which is focusing in RTNA’s education framework. The findings of this research will efficiently generate a valuable impact to develop and maintain the national interest as well as being a better commander in Navy management.