เรื่อง: แนวทางการพัฒนาศักยภาพของแรงงานให้ตอบสนองต่อนโยบายอุตสาหกรรม 4.0
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ภาณุวัฒน์ ตริยางกูรศรี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาศักยภาพของแรงงานให้ตอบสนองต่อนโยบาย
อุตสาหกรรม 4.0
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดการพัฒนาศักยภาพแรงงานของประเทศไทย
จากแผนยุทธศาสตร์พัฒนาชาติและนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 โดยน าแนวทางการพัฒนาศักยภาพแรงงาน
ในประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและประเทศญี่ปุ่นมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับการพัฒนาศักยภาพ
แรงงานไทย เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพของแรงงานให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานของไทย
ตอบสนองนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 ส าหรับวิธีการด าเนินงานวิจัยจะเป็น แบบประเมินตนเองของ
อุตสาหกรรมไทยเพื่อเตรียมพร้อมสู่ Industry 4.0 และแบบสัมภาษณ์ความต้องการสมรรถนะที่พึง
ประสงค์ของสถานประกอบการ ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมสนับสนุนไทยยังอยู่ที่
2.06 ซึ่งมีระดับความพร้อมของสถานประกอบการอยู่ในระดับ Industry 2.0 มากที่สุดถึง 9 ด้าน จาก 16
ด้าน ส าหรับศักยภาพระดับความสามารถของบุคลากรที่รองรับการพัฒนาระบบอัตโนมัติได้รับการ
ประเมินว่าอยู่ในระดับ Industry 2.0 อยู่ที่ 51.2% เท่านั้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงเสนอแนวทางการพัฒนา
ศักยภาพของแรงงานให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานของไทยตอบสนองนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 ผ่าน
มาตรการต่างๆ โดยการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้อุตสาหกรรม หรือ Learning Factory โดยภายในศูนย์จะมี
การพัฒนาทางด้าน Lean Automation System Integrator หรือ LASI ทั้งนี้รูปแบบการพัฒนาภายใน
ศูนย์การเรียนรู้อุตสาหกรรมจะมีการน าแนวทางของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและประเทศ
ญี่ปุ่นมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของอุตสาหกรรมการผลิตไทย รวมทั้งยังมีการเสนอแนว
ทางการรวมกลุ่มของแรงงานที่ผ่านการพัฒนาโดยจัดตั้ง Center of Robotic Excellence (CoRE) เป็น
เครือข่ายความร่วมมือน าร่อง มีเป้าหมายภายใน 5 ปี จะพัฒนาระบบอัตโนมัติต้นแบบอย่างน้อย 150
ผลิตภัณฑ์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีหุ่นยนต์ชั้นสูงให้แก่ผู้ประกอบการจ านวน 200 ราย และฝึกอบรมบุคลากร
ไม่น้อยกว่า 25,000 คน เพื่อการยกระดับอุตสาหกรรมอื่นๆของประเทศในภาพรวมโดยใช้แรงงานที่ผ่าน
การฝึกอบรมให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานของไทยตอบสนองนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 ทั้งนี้
ภาคอุตสาหกรรมควรใช้กลไกการพัฒนาดังกล่าวฯ ยกระดับแรงงานให้มีทักษะที่สูงขึ้น (Retain/Reskill)
เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 ให้มีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์สูงสุด
abstract:
Abstract
Title Guidelines for the Development of Labor Competency for Industry
4.0 Policy
Field Economics
Name Mr. Panuwat triyangkulsri Course NDC Class 60
The objectives of this work were to study the Labor Competency for
development of Thai workers according to Industry 4.0 policy in Thailand by applying
the strategic plans of skill and competency development from both Germany and
Japan to the potential of Thai workforces. The procedure of the study starts from
several literature review, strategically analysis and crystallization into the guidelines
for the development of labor competency for industry 4.0 in Thailand. The selfassessment and interview to employers on the need of competency for industry 4.0
were applied to survey Thai factories. As the result of the survey, the average stage
of Thai supporting industry is 2.06. The capability of Thai industry at industry 2.0 level
get 9 of 16 aspects while the capability of Thai labors at industry 2.0 was only 51.2%.
Therefore, to promote industry from 2.0 to 3.0, automation is key factor so the
proposal of the development of labor competency is focused to the supporting
program through automation learning center or learning factory. The concept of Lean
Automation System Integrator (LASI) will be provided for training in the center. Also,
the training center will adapt the concept of skill capability development in Germany
and Japan to Thailand while the Center of Robotic Excellence (CoRE) is proposed as
a collaborative network within 5 years targeted. The CoRE will be aimed to produce
150 automation products, transfer technology to 200 Entrepreneurs and train 25,000
workforces in Robotics and Automation to shift up the level of industry according to
Industry 4.0 policy. Finally, Thai Industry should apply the guideline to raise the
competency of Thai skilled workers for support Industry 4.0 sustainably and
p r o f i t a b l y .