เรื่อง: สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินกับการตรวจสอบยุคดิจิทัล
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ภัทรา โชว์ศรี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ส ำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดินกับกำรตรวจสอบดิจิทัล
ลักษณะวิชำ กำรเมือง
ผู้วิจัย นำงภัทรำ โชว์ศรี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นไปอย่างรวดเร็วจนปัจจุบันเข้าสู่ยุคดิจิทัล
ภาคราชการเริ่มมีความตระหนักถึงบทบาทการมีเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในกระบวนการท างานมากขึ้น
ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ก็เป็นหน่วยงานตรวจสอบของรัฐที่จะต้องปรับตัวให้สามารถ
ด าเนินการได้ในยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป แนวทางหนึ่งในการปรับตัว คือ การตั้งส านักตรวจสอบระบบ
สารสนเทศขึ้น งานวิจัยนี้จึงถูกจัดท าขึ้นภายใต้วัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและ
อุปสรรคที่อาจส่งผลกระทบให้ส านักตรวจสอบระบบสารสนเทศไม่สามารถด าเนินการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ จากเหตุที่มีข้อจ ากัดในด้าน บุคลากรและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในปัจจุบันไม่
เอื้อต่อการปฏิบัติงาน เป็นต้น ซึ่งจะท าให้การปฏิบัติงานของส านักตรวจสอบสารสนเทศในระยะ
เริ่มแรกไม่บรรลุวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบได้อย่างที่ควรจะเป็น จากเหตุดังกล่าว จึงน าไปสู่
การศึกษาตามวัตถุประสงค์อีกหนึ่งประการ คือ เพื่อเสนอแนวทางการด าเนินการตรวจสอบของส านัก
ตรวจสอบระบบสารสนเทศ ที่เหมาะสมในระยะเริ่มแรก และพบว่า สตง. ได้มีการเปลี่ยนแปลงภายใน
องค์กรหลายอย่างเพื่อรองรับการเข้าสู่ยุคดิจิทัล ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นทั้งการเปลี่ยนแปลง
กระบวนการภายในองค์กร และการเปลี่ยนแปลงกระบวนการตรวจสอบ โดยมีการประกาศยุทธศาสตร์
การตรวจเงินแผ่นดินยุคดิจิทัล (พ.ศ.2561 - 2565) ที่มีความต้องการปรับเปลี่ยนกระบวนการท างาน
โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาอย่างมาก มีการวางแนวทางในการจัดท าฐานข้อมูล ทั้งฐานข้อมูล
ภายในองค์กรและฐานข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตรวจสอบ มีการก าหนดแนวทางการเชื่อมฐานข้อมูล
กับหน่วยรับตรวจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่อุปสรรคที่ส าคัญ คือ ปัญหาด้านการออกแบบ การก าหนด
ข้อมูลและเรียงล าดับความส าคัญของข้อมูลที่จะน ามาจัดท าฐานข้อมูล การเชื่อมต่อโครงข่ายกับ
หน่วยงานอื่น ๆ การเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่จะท าให้ผู้ตรวจสอบสามารถปฏิบัติงานได้อย่างแท้จริง และ
ปัญหาด้านบุคลากรทั้งในแง่ของจ านวนและคุณวุฒิของผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ
ผลการศึกษาจึงน าไปสู่ข้อเสนอแนะแนวทางการด าเนินการตรวจสอบของส านัก
ตรวจสอบระบบสารสนเทศที่เหมาะสมในระยะแรก ที่จ าเป็นต้องได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจังของ
ผู้บริหารของ สตง. โดยมีนโยบายที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหาเรื่องบุคลากรที่จะปฏิบัติงานในส านัก
ตรวจสอบระบบสารสนเทศ ซึ่งต้องเริ่มจากการเพิ่มวุฒิการศึกษาที่เหมาะสมส าหรับการตรวจสอบ
ระบบสารสนเทศ การก าหนดอัตราเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษ นอกจากนี้ควรรีบด าเนินการจัดท า
ฐานข้อมูลเพื่อประกอบการวิเคราะห์และการประเมินความเสี่ยง ตลอดจนการจัดหาเทคโนโลยีที่ข
เหมาะกับการตรวจสอบระบบสารสนเทศ และอาจต้องแก้ไขข้อกฎหมายของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งที่
เป็นหน่วยรับตรวจหรือเป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หาก สตง. มีความจ าเป็นต้องใช้ข้อมูลในการตรวจสอบ
อย่างแท้จริง และออกแบบวางระบบป้องกันการโจรกรรมข้อมูลผ่านช่องทางการเชื่อมโยงโครงข่าย
เพื่อให้ส านักตรวจสอบระบบสารสนเทศสามารถท างานได้อย่างแท้จริงและมีประสิทธิภาพ
abstract:
ข
Abstract
Title State Audit Office with Digital Auditing
Field Politics
Name Mrs. Pattra Showsri Course NDC Class 60
Changes in information technology are happening at fast pace and
entering the digital age. The Government sector has become more aware of the
importance of information technology in enhancing the work process. State Audit
Office is a state Inspection Agency that must adjust its operating process to keep up
with the new era of changes. One of the ways to adjust is to set up an agency called
“Information System Audit Office”. This research was conducted with the two main
objectives. The first objective is to analyze problems and obstacles that may cause
Information System Audit Office to perform ineffectively. This is mainly due to
limitations in the qualified personnel, and the Information Technology Systems being
used are inadequate for the current operations. As a result, the operation of
Information System Audit Office at the initial stage does not achieve the intended
objectives. From that reason, it leads to the study of the second objective, namely,
to propose the guidelines for the auditing by Information System Audit Office that is
appropriate during the initial stage. In addition, State Audit Office has many internal
changes to support the digital era. These changes are both in the process within
the organization and the auditing process. The strategy to support the digital era
called “ State Audit Strategy in the Digital Age (2018 - 2022)” was announced
internally within State Audit Office in order to change the work process to rely
heavily on information technology. Guidelines for database generation were
created. This includes both the internal database and the database for the
auditing. There is a guideline for linking the database with agencies being audited and
related working partners. But the main obstacles are 1) problem in design, 2) data
determination and prioritization of data used to create database, 3) network
connectivity with other agencies, 4) access to information that will allow auditors to be able to perform effectively, and 5) personnel issues both in terms of the number
and qualifications of auditors.
The results of the study led to the recommendations of guidelines for
auditing of Information System Audit Office that are appropriate during the early
stages. Full supports from the Management of State Audit Office will be required in order to
develop a clear policy to solve the problem of personnel who will be working in
Information System Audit Office. This starts with hiring personnel with information
system knowledge and graduating degree for auditing of information systems. Salary
structure for these personnel should be initiated. In addition, the database should be
prepared for analysis and risk assessment along with providing technology that is
suitable for information system auditing. Relevant laws may need to be amended for
various agencies including agencies being audited and related agencies in the event
that State Audit Office requires to use the information in the actual auditing. There
also will be a requirement to design the system to prevent data theft through the
network link in order for Information System Audit Office to work effectively.