Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการใช้กำลังพลสำรองเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยภิบัติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี เพิ่มศักดิ์ รอบจังหวัด
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการใช้ก าลังพลส ารองเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี เพิ่มศักดิ์ รอบจังหวัด หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐ เอกสารวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะงานการป้องกันและแก้ไข ปัญหาจากภัยพิบัติ และบทบาทที่สมควรมอบหมายให้ก าลังพลส ารอง ศึกษาบทบาทและโครงสร้างของ หน่วยรับผิดชอบหลัก ให้ได้แนวทางการเตรียมก าลังและใช้ก าลังพลส ารองเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติโดยขอบเขตการวิจัยเน้นเฉพาะบทบาทของก าลังพลส ารอง รวมทั้งแนวทาง การเตรียมก าลังและใช้ก าลังพลส ารองเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติ ในส่วนของการปรับปรุง บทบาทและโครงสร้างของหน่วย จะเป็นเพียงการเสนอแนวคิดหรือหลักการกว้าง ๆ โดยไม่พิจารณาลึก ในรายละเอียดของผังการจัดหน่วย และวิจัยเฉพาะข้อมูลที่เปิดเผยได้เท่านั้น ซึ่งวิธีด าเนินการวิจัยเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพที่ใช้ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิโดยศึกษาวิเคราะห์จากเอกสารและการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การเตรียมก าลังพลส ารองเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติต้องมีการเตรียม บัญชีบรรจุก าลังในแต่ละพื้นที่ เตรียมความรู้ เตรียมแผนงานให้กับก าลังพลส ารองอย่างชัดเจน การใช้ ก าลังพลส ารองต้องใช้ในงานที่ก าลังพลส ารองมีความรู้ความช านาญอยู่เดิม หากก าลังพลส ารองไม่มี ความรู้ จะใช้ในบทบาทการเป็นผู้ช่วยเหลือเป็นหลัก โดยขั้นต้นจะบรรจุก าลังพลส ารองให้หน่วยทหาร ที่รับผิดชอบพื้นที่ตามแผนบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม ๒๕๕๘ ในบัญชีบรรจุก าลังของหน่วย และมีการเรียกก าลังพลส ารองเพื่อท าการฝึก หรือเมื่อมีความจ าเป็นในการช่วยเหลือและบรรเทาภัยพิบัติ ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะที่ส าคัญ คือ การให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของกระทรวงกลาโหม ร่วมหารือกันเพื่อก าหนดนโยบายและแนวทางที่ชัดเจน โดยริเริ่มให้การศึกษาอบรมนักศึกษาวิชาทหาร ซึ่งเป็นก าลังพลส ารองหลักเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติในโอกาสต่อไปอาจพิจารณา ปรับโครงสร้าง กองร้อย/กองพัน มณฑลทหารบก หรืออาจใช้การจัดเฉพาะกิจ โดยประกอบก าลังจาก หน่วยขึ้นตรงมณฑลทหารบกให้มีบทบาทและหน้าที่ในการช่วยเหลือและบรรเทาภัยพิบัติมากขึ้น นอกเหนือจากภารกิจของมณฑลทหารบกที่มีอยู่เดิม พร้อมทั้งให้มีอัตรารองรับการบรรจุก าลังพล ส ารองตามความเหมาะสมให้มากที่สุด รวบรวมรายชื่อและความรู้ความเชี่ยวชาญของก าลังพลส ารอง เพื่อคัดกรองการบรรจุก าลังพลส ารองให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ และแจ้งหน่วยทหารที่รับผิดชอบพื้นที่ ตามแผนบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม ๒๕๕๘ มีการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง และเมื่อก าลังพล ส ารองมีความรู้ความเชี่ยวชาญแล้วอาจพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการปรับโครงสร้าง กองร้อย/กองพัน ของมณฑลทหารบก ให้มีภารกิจและขีดความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหา จากภัยพิบัติมากขึ้น โดยอาจมีการวิจัยเพิ่มเติมต่อไป

abstract:

ข Abstract Title The Utilisation of Reserve Forces in Disaster Prevention and Relief Field Military Name Major General Permsak Robchangwad Course NDC Class 60 The Objectives of this research paper were to study and analyze disaster prevention and relief and the appropriate roles to be assigned to the reserve forces. The research also attempted to study the roles and structures of key responsible units so as to identify reserve forces preparation and utilisation in performing duties in disaster prevention and relief. The research focused on the roles of reserve forces, as well as reserve forces preparation and utilisation in disaster prevention and relief. As for the development of roles and unit structures, the researcher suggested only his broad views and adopted principles, while disregarding the details of unit structures and also utilising only unclassified information. The study was a qualitative research and utilised both primary and secondary data which were obtained from documents and interviews with experts. The research found that the preparation of reserve forces for disaster prevention and relief must comprise the preparation of areal personnel registration lists, knowledge and a work plan. The utilisation of reserve forces must be applied to former experienced personnel, whereas the inexperienced groups should be assigned as supporters. For a start, the reserve forces would be assigned to the areal units’ personnel lists under the Ministry of Defence (MOD)’s Disaster Relief Plan B.E.2558. The reserve forces would also be called up for training and assigned to humanitarian assistance and disaster relief undertakings as the situations dictated. The recommendations were the arrangements of joint discussion among the MOD’s related units so as to formulate concrete policies and approaches, education of territorial defence trainees on disaster prevention and relief, collection of names and expertise of reserve forces so as to post them appropriately in each geographical area, informing area – based units about the MOD’s Disaster Relief Plan B.E.2558 and continued training. After the reserve forceshave been educated and gained experience, the reorganisation of companies or battalions of the military circles after additional researches have been conducted might then commence so that they would have additionally appropriate missions and capabilities on disaster prevention and relief.