เรื่อง: กลยุทธ์ในการส่งเสริมการส่งออกผลไม้ไทยประเภทฟรีเมี่ยมสู่ตลาดโลกอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษามะม่วงไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง พิมพณัฐชยา บุณยมาลิก
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง กลยุทธ์ในการส่งเสริมการส่งออกผลไม้ไทยประเภทพรีเมี่ยมสู่ตลาดโลกอย่าง
ยั่งยืน:กรณีศึกษามะม่วงไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางพิมพ์ณัฐชยา บุณยมาลิก หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยกลยุทธ์ในการส่งเสริมการส่งออกผลไม้ไทยประเภทพรีเมียมสู่ตลาดโลกอย่าง
ยั่งยืน: กรณีศึกษามะม่วงไทยได้วิเคราะห์และพบว่า ปัญหา ได้แก่ การใช้ปัจจัยการผลิตมากเกิน
ความจ าเป็น เช่น ใช้สารเคมีราคาแพง ปัญหาการใช้สารเคมีของเกษตรกร ควรใช้สารเคมีชนิดใดจึง
จะไม่เป็นการท าลายทั้งเกสร ผลอ่อน หรือกับทั้งแมลงที่ช่วยในการผสมเกสร ปัญหาการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการห่อ การเลือกวัสดุที่ไม่คุ้มค่ากับการน ามาใช้งานในแต่ละประเภท สภาพอากาศ
ร้อน ส่งผลต่อการออกดอกของมะม่วง ปัญหาของการผลิตมะม่วงนอกฤดูยังออกสู่ตลาด ไม่
สม่ าเสมอและขาดความต่อเนื่อง อุปสรรค ได้แก่ ระยะเวลาเก็บรักษาสั้น มักเน่าเสียก่อนที่จะน าไป
วางจ าหน่าย ซึ่งผลมะม่วงเน่าเสียเนื่องจากสาเหตุส าคัญ ได้แก่ เป็นโรคแอนแทรกโนส ท าให้มีจุดด า
ที่เปลือก สาเหตุเกิดจากเชื้อราและแมลงวันผลไม้เจาะเข้าไปในผล การอบไอน้ าท าให้เนื้อมะม่วงช้ า
เสียรสชาติ คุณภาพผลไม้ไม่สม่ าเสมอ มีทั้งผลแก่และผลอ่อนปะปนอยู่ในกล่องบรรจุเดียวกัน
ต้นทุนการผลิตมะม่วงอยู่ในระดับสูง การบรรจุหีบห่อไม่ได้มาตรฐานท าให้เกิดการสูญเสียภายหลัง
การส่งออกรวมทั้งกฎระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไขของหน่วยราชการ ที่ไม่เอื้ออ านวย
โดยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้
๑. ภาครัฐควรเข้ามามีบทบาทท าให้ตลาดผลไม้ไทยสดใส และยั่งยืน มากขึ้นโดยใน
ความร่วมมือในเรื่องของการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกมะม่วงที่มีคุณภาพ มาตรฐาน
เพื่อการส่งออกโดยตรง ตลอดจนเงินทุน และกฎระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ จากภาครัฐ ที่เอื้อให้ผู้ผลิต
ได้ท างานเดินหน้าอย่ารวดเร็วขึ้น อย่างจริงจัง ต่อเนื่อง
๒. ภาครัฐควรส่งเสริมเพื่อให้มะม่วงไทยมีชื่อเสียงให้เป็นพืชเศรษฐกิจที่ยั่งยืนภายใน
๕ ปี เป็นผลไม้พรีเมี่ยมของไทยที่มีมาตรฐานการผลิตที่สูง คือ การประชาสัมพันธ์ในงานอาหาร
และผลไม้โลก การดูแลให้ค าแนะน าอย่างใกล้ชิด ปัญหาสารเคมี ที่ตกค้างที่ส าคัญเป็นปัจจัยหลักใน
การส่งออกข
๓. กลยุทธ์ที่ท าให้เกิดความยั่งยืนกับตลาดการค้ามะม่วงไทยความร่วมมือกันระหว่าง
สามฝ่าย เกษตรกร ผู้ส่งออก ผู้ซื้อควรให้ความส าคัญมากขึ้นโดยควรจับมือร่วมกันพูดคุยให้ความรู้
เป้าหมายในการค้าร่วมกัน
๔.การส่งออกควรพึ่งตัวเองเป็นหลักในการท าตลาดโลก การแบ่งสัดส่วนการจัดการ
ให้เป็นส่วน ๆ และชัดเจน เช่น ผู้ผลิต ผลิตอย่างเดียว ผู้หาตลาดหรือการตลาด เป็นผู้หาหรือท า
ตลาดอย่างเดียว รวมทั้งควรมีการออกแสดงงานสินค้าในตลาดต่างประเทศอย่างสม่ าเสมอ
๕. กลยุทธ์ในการส่งเสริมการส่งออกผลไม้ไทยประเภทแบรนด์พรีเมี่ยม มะม่วงไทยมี
จุดเด่นข้อได้เปรียบในด้านรสชาติ ความสวยงามของผลผลิต มีโอกาสในการสร้างแบรนด์ที่เป็น
ไฮเอ็น (hi-end) ดังนั้น กิจกรรมที่ควรต้องด าเนินการไปที่จะเป็นการจ าหน่ายด้วยการ
ประชาสัมพันธ์ที่ที่ได้รับความร่วมมือในภาคส่วนของรัฐช่วยเผยแพร่ในงานแสดงสินค้าใน
ต่างประเทศ
abstract:
ABSTRACT
Title: Strategy to Promote Sustainable Exportation of Premium Thai Fruit to
the World Market: A Case Study of Thai Mangoes
Field Economics
Name Mrs. Pimnatchaya Boonyamalik, Course NDC Class 60
The research of the Strategy to Promote Sustainable Exportation of Premium Thai
Fruit to the World Market: A Case Study of Thai Mangoes has analyzed and found many
Problems e.g. excessive production factors such as expensive chemical substances; problems
caused by chemicals used by farmers; discovery of chemicals not harmful to the pollens,
underdeveloped drupes, or to insects aiding the pollination; problem of improving the
effectiveness of the packaging; problems of unfit material selection for specific application;
problem of tropical climate which affects the blooming of mango blossoms; problems of
discontinuous off-season mango products. The research also discovers many Obstacles e.g. a
short longevity and becoming rotten prior to sale; the main reasons for mangoes to become rotten
is Anthracnose Disease causing black spots on the surface of the fruit which can also be caused
by fungus and punctures made by flies; Steaming can also ruin mango fresh and flavor; the fruit
quality can be inconsistent with ripe and unripe fruit within the same container; the cost of mango
production is still considerably high; the packaging is nonstandard and causes damage after
exportation; lastly, the unfavorable regulations, rules, and conditions from authorities.
The recommendations are as follows:
1. The government should take part in making the future of Thai fruit market more
optimistic and sustainable by cooperating in the project to support and promote farmers to
cultivate mangoes with export quality; provide financial support, and leniency in the rules and
regulations to favor the agriculturalists in continuously progressing forward rapidly and
intensively.
2. The government should promote the reputation of Thai mangoes as the
sustainable economic plant within 5 years to become Thailand premium fruit with high production standards; and advertisement in the world food and fruit exhibitions under the close
advisory for chemical residue problems which is a serious problem inthe exportation.
3. Strategy for the sustainability of the Thai mango market which lies in the
cooperation among the three factors which are the farmers, exporters, and the customers should
be emphasized more by discussing among themselves to achieve the commonbargaining goal.
4. The exportation should be self-sustainable in the world market. The
management should be divided into the distinctive portions e.g. the farmers should mainly focus
on the production and the distributors or marketer should emphasize on solely the distribution and
marketing. There should also be a continuous campaign of product display in foreign markets.
5. In the strategy to promote the exportation of premium brands of Thai fruit, Thai
mangoes have the advantages in the aspects of the flavor and good appearances with the potential
to constitute a Hi-End brand. Therefore, the next action that should be performed is to distribute
the products with good advertisement sponsored by government sectors in foreign product
exhibitions.