เรื่อง: บทบาทของตำรวจตระเวนชายแดนหลังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี พันธุ์พงษ์ สุขศิริมัช
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง บทบาทของต ารวจตระเวนชายแดนหลังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พลต ารวจตรี พันธุ์พงษ์ สุขศิริมัช หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
การวิจัยเรื่อง “บทบาทของต ารวจตระเวนชายแดนหลังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ในพื้นที ่ชายแดนจังหวัดเชียงราย” นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
สภาพปัญหาและผลกระทบเกี่ยวกับบทบาทของต ารวจตระเวนชายแดนหลังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย และก าหนดแนวทางการพัฒนาบทบาทของต ารวจตระเวนชายแดน
หลังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย โดยศึกษาค้นคว้าแนวคิด ทฤษฎีจาก
เอกสาร ต ารา ระเบียบข้อกฎหมายทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แล้วน ามาวิเคราะห์ประเด็นเนื้อหาที่ส าคัญต่อการวิจัย ประกอบการออกแบบเครื่องมือ เพื่อรวบรวม
ข้อมูลในประเด็นที่เกี่ยวข้องจากผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในพื้นที่ชายแดน
จังหวัดเชียงราย โดยใช้วิธีแบบสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลส าคัญ จ านวน
13 ท่าน ซึ่งเป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือและมีน้ าหนักในการน าไปสู่การวิเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์ ที่
ก าหนดไว้ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ผลกระทบเชิงบวกคือ 1) มีศักยภาพในการให้บริการด้านโลจิสติกส์แก่จีนตอนใต้
และพื้นที่ตอนบนของเมียนมาและ สปป.ลาว ในการขนส่งสินค้าไปทางเหนือเชื่อมโยงกับจีนตอนใต้
(มณฑลยูนนาน) ได้ทั้งทางบกและทางน้ า 2) มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดเชียงราย
และในพื้นที่ตอนบนของเมียนมา สปป.ลาว และจีนตอนใต้และ 3) สามารถพัฒนาขยายห่วงโซ่มูลค่า
การผลิตอุตสาหกรรมในพื้นที่
2. ผลกระทบเชิงลบคือ 1) จ านวนมากขึ้นของการไหลผ่านเข้า-ออกของประชากร
ประเทศเพื่อนบ้าน/ต่างประเทศ/นักท่องเที่ยว 2) ปริมาณที่เพิ่มขึ้นของภัยคุกคามข้ามชาติและ
ปัญหาอาชญากรรมในพื้น 3) ประชาชนในพื้นที่ถูกแย่งชิงใช้บริการขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ของรัฐ
4) เกิดปัญหาการว่างงานมากขึ้น ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของปัญหาครอบครัวที่จะส่งผลต่อปัญหา
สังคมและปัญหาอาชญากรรมตามมา
3. ข้อเสนอแนะ ควรมีการปรับรูปแบบและยุทธวิธีในการเฝ้าระวังตรวจตราในพื้นที่
ชายแดนในจังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีเส้นทางคมนาคมเข้าถึงเป็นส่วนใหญ่ ทางเรียบริมแม่น้ าโขง
โดยใช้ “สายตรวจชายแดน” คือ 1) สายตรวจชายแดนรถยนต์ และ 2) สายตรวจชายแดน
จักรยานยนต์ เพื่อ 1) การเพิ่มความรวดเร็ว เข้าถึงประชาชน จุดเกิดเหตุเมื่อได้รับแจ้งเข้าถึงได้อย่าง
รวดเร็ว 2) เป็นการป้องปรามการกระท าผิดในพื้นที่ชายแดน 3) เป็นการแสดงตนและประชาสัมพันธ์
หน่วยงาน และ 4) เพิ่มความถี่ในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเข้าถึงประชาชนได้มากขึ้น เสริม
ประสิทธิภาพในการลาดตระเวนเฝ้าตรวจพื้นที่ชายแดนในจังหวัดเชียงราย เพิ่มเติมให้กับการ
ลาดตระเวนเดินเท้าแบบเดิม โดยเน้นในพื้นที่ชายแดนที่มีโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมเข้าถึงและ
พาดผ่าน ณ ปัจจุบันและในอนาคตต่อไป
abstract:
ข
ABSTRACT
Title : The roles of Border Patrol Police towards the ASEAN Community
focus
in border area at Chiang Rai Province.
Field : Social - Psychology
Name : Police Major General Phanpong Suksirimuch Course NDC Class 60
The research study on "The role of Border Patrol Police after the entry
into the ASEAN Community. Chiang Rai border area "This is a qualitative research. The
objectives of this study were to study the problems and impacts of Border Patrol
Police after the accession to the ASEAN Community in the Chiang Rai border area.
And set guidelines for the development of the role of border patrol police after the
accession to the ASEAN Community in the border area of Chiang Rai. By studying the
concept. Theories from documents, texts, legal regulations, both domestically and
internationally. The research is related to the content of the research. Design Tools To
gather information on relevant issues from experts and experience in the area of Chiang
Rai border. An in-depth interview was conducted with 13 key informants who were
credible and weighed on the basis of their analysis of the objectives. The results are as
follows.
1. Positive impact is 1) It has the potential to provide logistics services to
South China. And the upper part of Myanmar and Lao PDR. 2) There is potential for
tourism in the area of Chiang Rai. And in the upper areas of Myanmar, Lao PDR and
southern China, and 3) can develop chain expansion. Industrial production value in the
area.
2. Negative impacts are: 1) more influx of inward / outbound flows of
Neighboring / foreign / tourist populations; 2) increased volume of transnational
threats and crime in the ground. 3) People in the area have been hijacked using basic
services of the state. 4) More unemployment. Increases in family problems will result
in social problems and crime.
3. Suggestions should be made on the pattern and tactics of border
surveillance in Chiang Rai. This is the area with most access roads. The "border
checkpoints" are: 1) border crossing cars; and 2) border crossing motorcycles. 1) Public
access 2) to prevent abuse in the border area; 3) to represent and promote the
agency; and 4) increase the frequency of good relationships and reach out to the ข
people. Enhance efficiency in patrolling border surveillance in Chiang Rai. More to the
original patrol. The emphasis is on border areas where transport infrastructure is
accessible and current, and in the future.