เรื่อง: ผลกระทบของมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธีรวัฒน์ วงศาสุวรรณ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ผลกระทบของมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2560
ลักษณะวิชา การเมือง (Politics)
ผู้วิจัย นายธีรวัฒน์ วงศาสุวรรณ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
จากการศึกษาวิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย งานวิจัย งานวิชาการ บทความ เจตนารมณ์และกระบวนการด าเนินการตาม
มาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีเจตนารมณ์ให้เกิดการปฏิรูป
ด้านกฎหมายและมีความประสงค์ไม่ให้รัฐออกกฎหมายมากเกินไป เนื่องจากปัจจุบันมีกฎหมาย
บางฉบับที่ล้าสมัย บังคับการไม่ได้แล้ว หรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน รวมทั้งมีกฎหมาย
จ านวนมากที่เป็นอุปสรรคต่อการด ารงชีวิตหรือประกอบอาชีพของประชาชน รัฐจึงควรยกเลิกหรือ
ปรับปรุงกฎหมายดังกล่าว โดยการออกกฎหมายควรค านึงถึงภาระของประชาชน และด าเนินการให้
ประชาชนเข้าถึงตัวบทกฎหมายได้โดยสะดวก และเข้าใจได้ง่าย เพื่อปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่าง
ถูกต้อง ตลอดจนให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง และวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก
กฎหมาย เพื่อเป็นการกลั่นกรองก่อนการเสนอร่างกฎหมายเบื้องต้น รวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟังความ
คิดเห็นและการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และน ามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรา
กฎหมายทุกขั้นตอน จึงได้แบ่งออกเป็นหลักการก่อนตรากฎหมาย หลักการยกเลิกหรือปรับปรุง
กฎหมาย และหลักการเมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว
พบว่ามีผลกระทบทางด้านการเมืองหรือการบริหารผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ
เป็นการสร้างความรับผิดชอบของหน่วยงานของรัฐในการตรากฎหมายมาบังคับใช้กับประชาชน
ที่จะต้องรับฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อน ขณะเดียวกันก็เป็นการลดอ านาจของหน่วยงานของรัฐ
เช่นกัน ส่วนผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่มีผลกระทบต่อ
ประชาชนหรือกลุ่มนายทุนหรือผู้มีอ านาจซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อบุคคลเหล่านั้น ท าให้การรับฟัง
ความคิดเห็นของหน่วยงานของรัฐมีปัญหาและอุปสรรคมิได้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและ
ความประสงค์ที่แท้จริงอาจส่งผลต่อการที่หน่วยงานของรัฐที่จะต้องรับฟังความคิดเห็นต่อร่างกฎหมาย
นั้น ๆ ท าให้ไม่รับฟังความคิดเห็นได้และไม่สามารถตรากฎหมายมาใช้บังคับได้จึงส่งผลต่อการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศอย่างร้ายแรง และผลกระทบทางด้านสังคม การรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชนอาจมีทั้งผู้เห็นด้วยกับผู้ที่ไม่เห็นด้วยอาจเป็นเหตุแห่งความขัดแย้งต่อสังคมในวงแคบหรือ
วงกว้างก็ได้จนน าไปสู่การต่อต้านหรือชุมนุมอันจะส่งผลกระทบต่อสังคมได้รวมทั้งมีผลกระทบ
ทางด้านกระบวนการตรากฎหมาย การรับฟังความคิดเห็นแล้วย่อมเป็นหลักการเบื้องต้นในการ
พิจารณาร่างกฎหมาย หากมีการแก้ไขเพิ่มเติมแตกต่างกับหลักการเบื้องต้นตามที่ได้รับฟัง
ความคิดเห็นมาแล้วนั้น ย่อมส่งต่อความเชื่อมั่นในกระบวนการตรากฎหมายของฝ่ายนิติบัญญัติและ
ความเชื่อมั่นของผู้แสดงความคิดเห็นในการรับฟังความคิดเห็นท าให้ไม่กล้าและไม่ต้องการแสดง
ความคิดเห็นอันเป็นเหตุให้เกิดการรับฟังความคิดเห็นไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายอย่างข
แท้จริงอันเป็นอุปสรรคต่อการรับฟังความคิดเห็น อีกทั้งเมื่อมีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
แล้วอาจท าให้ระยะเวลาของกระบวนการตรากฎหมายยาวนานมากกว่าเดิมจนส่งผลท าให้กฎหมาย
ที่มีความจ าเป็นเร่งด่วนมิอาจใช้บังคับได้ทันท่วงที
โดยข้อเสนอแนะผลกระทบและเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาจากการด าเนินการ
มาตรา 77 ว่าเพื่อลดผลกระทบต่อการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนควรมีการยกเว้นมิให้รับฟัง
ความคิดเห็นต่อร่างกฎหมายที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐหรือเป็นกฎหมายจ าเป็นอย่างยิ่งและ
เร่งด่วน เพื่อมิให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงแห่งรัฐหรือเกิดความล่าช้าในการตรากฎหมาย หรือ
เพื่อให้กฎหมายมีผลบังคับใช้ได้อย่างประสิทธิภาพและมีความเป็นธรรมต้องอาศัยข้อเท็จจริงจากผู้ที่
ได้รับผลกระทบหรือพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบด้วยการไปศึกษาหาข้อเท็จจริงจากผู้ที่ได้รับผลกระทบหรือ
พื้นที่ที่ดีรับผลกระทบโดยตรงและผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์และเป็นไปตาม
เจตนารมณ์ของกฎหมายได้อย่างแท้จริง และเพื่อให้การรับฟังความคิดเห็นเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
ในอันที่จะตรากฎหมายให้มีประสิทธิภาพต้องน าผลการรับฟังมาพิจารณาประกอบการตรากฎหมาย
อย่างแท้จริงด้วย
abstract:
Abstract
Title : Effects of Section 77 of the Constitution of the Kingdom
of Thailand B.E. 2560 (2017)
Subject : Politics
Researcher : Mr. Theerawat Wongsasuwan,
National Defence College Program Student, Class No. 60
In an analytical study and related data collection including the
Constitutions of the Kingdom of Thailand, researches, academic works, texts, intent
and approaches in accordance with section 77 of the Constitution of the Kingdom of
Thailand B.E.2560 (2017), it aims at legal reform and needs not more State laws
promulgated by the State, at present some laws have been outdated, applied for a
long time, or not responding to the changes and development. Many laws have been
obstacles to living or working of people; the State should appeal or revise those laws.
The legal enforcement should be carried out with respect to the burdens of the
people and provide convenient and easy access to the legal content in order to
comply with the law properly; providing opinions gathering of involved persons and
analyzing legal effects prior to submitting draft Acts, and also revealing the results and
analysis thereof to the public. That will be applied for consideration at all levels of
law drafting procedures; principles before drafting laws, appealing laws or amendment
of laws, and after enforcement of laws.
It is found that political or economic effects management brings about
responsibilities to the State agencies leading to the drafting and enforcement of laws
with peoples’ opinions gathering, while lessening the State powers. Relating to the
economic effects, public opinions gathering being influenced directly on the people
or investors or the authority brings about problems and obstacles for the State
opinions gathering inconsistent with the real intent and purposes of the laws. That
would affect the State opinions gathering towards those draft Acts, not be able to
provide those draft Acts being enforced as laws, leading to large economic
development. With regards to social effects, public opinions gathering can be both
agreed and not agreed, causing conflicts in a small or large area which may lead to
opposition or assembly affecting society and also legal drafting. Therefore, opinions
gathering has become primary principle for draft Acts consideration, if being amended
differently from that principle brings about confidence thereto both of the Legislative
procedures itself and the opinions providers. That leads to opinions gathering II
discouragement and failure, causing the process inconsistent with the content of laws.
However, after the public opinions gathering a period for drafting laws may last longer
affecting the urgent enforcement of necessary laws.
In order to lessen effects towards public opinions gathering for solving
thoseeffects and problems from the implementation of section 77 of the Constitution,
opinions gathering towards the laws affecting State security or very urgent laws should
be avoided in order to prevent the effects of State security or the late enforcement
of laws; or to provide effective and fair laws enforcement based on fact-findings from
the affected persons or areas through direct fact-findings in the areas and from specific
specialists. That would bring about achievement and be consistent with the law intent
in order to make fruitful opinions gathering for drafting the effective laws by application
of the results thereof for consideration on the draft Acts.