Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาความมั่นคงทางจิตใจของนักเรียนพยาบาล(กรณีศึกษานักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก รุ่นที่ 54)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ธารา พูนประชา
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาความมั่นคงทางจิตใจของนักเรียนพยาบาล : กรณีศึกษา นักเรียนพยาบาล ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก รุ่นที่ 54 ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พลตรี ธารา พูนประชา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60 ความมั่นคงทางจิตใจ (Spiritual Security) เป็นส่วนหนึ่งใน 7 ด้านของความมั่นคงของ มนุษย์ที่ UNDP ก าหนดเป็นเรื่องจิตใจที่ลึกซึ้งและพื้นฐานส าคัญที่ท าให้ชีวิตด ารงอยู่ได้ การวิจัยนี้เป็น การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ในยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี โดยบูรณาการเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอน ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการมีจิตสาธารณะการวิจัยนี้เป็นวิจัย เชิงปริมาณกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดท าแนวทางการพัฒนาความมั่นคงทางจิตใจให้เกิด ภายในจิตใจของเยาวชนวัยรุ่นอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีขั้นตอนอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม และ ทดสอบประสิทธิผลของแนวทางการพัฒนาความมั ่นคงทางจิตใจในมิติด้านความทนทาน ทางอารมณ์ ด้านก าลังใจ และด้านการจัดการปัญหา อันจะเป็นรากฐานพัฒนาเป็นหลักสูตรสอน คุณธรรมจริยธรรมอย่างเป็นรูปธรรมและมีตัวชี้วัด ด าเนินการวิจัยในนักเรียนพยาบาล (นรพ.) ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก รุ่นที่ 54 จ านวน 48 คน ที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมจากทั้ง รุ่น 89 คน เนื้อหาที่ใช้ในการฝึกอบรมเน้นการเรียนรู้ที่มองเข้าสู่ด้านในจิตใจตนเองอย่างมี สติสัมปชัญญะ สมาธิตั้งมั่นเป็นกลางด้วยจิตพุทธะอย่างมีโยนิโสมนสิการ ผลการวิจัยพบว่า นรพ. มี คะแนนเฉลี่ยความเข้มแข็งทางใจก่อนเข้าร่วมกิจกรรมสูงที่ 3.21 และมีครอบครัวและคนใกล้ชิดเป็น ก าลังใจ มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุดที่ 3.79 ท าให้ภายหลังเข้าร่วมกิจกรรมมิติด้านก าลังใจไม่มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ แต่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติในด้านความ เข้มแข็งทางใจโดยภาพรวม มิติด้านความทนทานทางอารมณ์และมิติด้านการจัดการปัญหา การ ประเมินความ พึงพอใจและประสิทธิผลของแนวทางการพัฒนาความมั่นคงทางจิตใจพบว่า นรพ. มีความพึงพอใจในกิจกรรมการพัฒนาความมั่นคงทางจิตใจในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์พอใจมากที่ 85.7% ด้านประสิทธิผลของกิจกรรมพบว่า หลังการเข้ากิจกรรม นรพ. มีความรู้ความเข้าใจในทุก หัวข้อของ 28 รายการของการประเมินอย่างมีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งวิธีท าให้จิตเป็นพุทธะและการท าโยนิโสมนสิการ ท าให้จะเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ ท างานด้วยจิตบริสุทธิ์และเป็นกุศล สรุปแนวทางการพัฒนาความมั่นคงทางจิตใจเป็นกิจกรรมที่มี ประสิทธิภาพและเป็นรากฐานของการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมที่ดีและที่พึงประสงค์ของการเป็น พยาบาลที่ดีในอนาคตท าให้ประเทศชาติจะได้ทรัพยากรบุคคลที่ทรงคุณค่ายิ่ง

abstract:

ข Abstract Title Guidelines for Developing the Spiritual Security of Nurse Students : Case Study of 1stYear Nurse Students, 54 th the Royal Thai Army Nursing College Field Social - Psychology Name Major General Tara Poonpracha Course NDC Class 60 Spiritual security (SS) is deeply in human’s soul, fundamental to human living and one of seven human securities classified by UNDP. The real and absolutely complete spiritual security must require the existence of wisdom. This study matches transformation of learning in the 3rd strategy of Thailand’s 20-year national strategy￾developmental and empowerment human capital-integrating virtue, ethics and public mind in educational programs, activities and decencies. It is a quantitative research with quasi experiment. The first objective is to develop the guidelines of spiritual security rationally, systematically and concretely occurring in the adolescents’ mind. The second one is to evaluate the effectiveness of the spiritual stability in 3 dimensions consisting of emotional endurance, encouragement and problem management. This guideline is fundamental to developing an abstract moral educational curriculum to be tangible and measurable with indicators. The study was carried out in 48 out of 89 1st year nurse students, 54th the Royal Thai Army Nursing College voluntarily joined activities with the content focusing on learning to look inside their mind with mindfulness, consciousness, meditation with neutral and enlighten mind. The results reveal that the overall spiritual stability and having family encouragement was high with the average pretest score was 3.21 and 3.79 respectively that causing no statistically significant difference in posttest encouragement. After training course reveal the statistically significant difference in the overall spiritual stability, emotional endurance and problem management. The Evaluation of the satisfaction of overall training course is very satisfied at 85.7%. Conclusion : The guidelines for developing the spiritual security is effective in improvement of virtue and ethics of nurse students to be a good and desirable professional nurse in the future and a valuable human resource for country.