เรื่อง: ยุทธศาสตร์ One Belt, One Road" เส้นทางสายไหมแห่งศตวรรษที่ 21 ความท้าทายและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ณัฐสม ตังเดชะหิรัญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ยุทธศาสตร์“One Belt, One Road” เส้นทางสายไหมแห่งศตวรรษที่
๒๑ ความท้าทายและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นาย ณัฐสม ตังเดชะหิรัญ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยเรื่อง แนวทางก าหนดยุทธศาสตร์ของไทยต่อยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมใน
ศตวรรษที่ ๒๑ ของจีน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ตอบวัตถุประสงค์การวิจัยไว้ ๓ ข้อ ดังนี้
๑. เพื่อศึกษาวิเคราะห์ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมแห่งศตวรรษที่ ๒๑ เป็นนโยบายที่มี
จุดประสงค์หลักคือ เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมโยงภายในประเทศจีนและภูมิภาคโดยมีการก่อตั้ง
ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน เป็นการปฏิรูปและส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจตามมณฑล
ต่าง ๆ ของจีนเองในระดับระหว่างภายในประเทศและระหว่างประเทศ ซึ่งจะเป็นการสร้างการค้าการ
ลงทุนและพัฒนาเศรษฐกิจระดับมหภาคผ่านโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในการเชื่องโยงประเทศ
ต่าง ๆ กับจีน รวมถึงไทยเองและภูมิภาคอาเซียน
๒. เพื่อศึกษาผลกระทบของยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ของจีนที่มี
ผลกระทบต่อไทย โครงการที่ก าลังด าเนินการอยู่ในขณะนี้นับเป็นอีกหนึ่งโอกาสของไทยที่จะขยาย
การค้าการลงทุน ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เชื่อมโยงสู่ตลาดโลก โดยมีโครงการที่เชื่อมต่อมาจาก
OBOR คือ China-Indochina ที่ไทยยังตั้งอยู่แนวระเบียงเศรษฐกิจจีน-อินโดจีน ซึ่งถือเป็นจุด
ยุทธศาสตร์ส าคัญของการเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนในภูมิภาค ส่งเสริมลงทุนในเขตเศรษฐกิจ
พิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ขยายโอกาสไปยังประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะกลุ่มประเทศ CLMV
และเชื่อมโยงสู่โลก
๓. เพื่อก าหนดยุทธศาสตร์ของไทยต่อยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมแห่งศตวรรษที่ ๒๑
ของจีนที่เหมาะสม จะท าให้เกิดการพัฒนาเมืองตามแนวที่เส้นทาง OBOR พาดผ่าน ซึ่งจะท าให้เกิด
ตลาดใหม่ขึ้นมารองรับการส่งออกสินค้าของไทยเพิ่มขึ้นอีกเป็นจ านวนมาก ควรส่งเสริมให้ภาคเอกชน
พัฒนาตลาดที่เกิดขึ้นใหม่ โดยเฉพาะการเชื่อมโยงภูมิภาคของอาเซียนที่สอดรับกับยุทธศาสตร์ของจีน
ซึ่งจะเป็นผลประโยชน์ร่วมระหว่างไทยกับจีน รวมถึงอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง และอาเซียนโดยรวม
โดยมีข้อเสนอแนะถึงรัฐบาลไทยว่าควรใช้ศักยภาพที่ตั้งภูมิรัฐศาสตร์เศรษฐกิจในอาณา
บริเวณพื้นที่ที่สามารถพัฒนาเป็นศูนย์กลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์
และห่วงโซ่คุณค่า รวมทั้งขีดความสามารถที่ต้องพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน อันเป็นจุดแข็ง
ของการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาตร์กับจีนในการเป็นศูนย์กลางของการคมนาคมขนส่ง การเป็นศูนยก์
ลางของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การเป็นศูนยก์ลางทางด้านการแพทย์ ฯลฯ ที่สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และนโยบายประเทศไทย ๔.๐
abstract:
ABSTRACT
Title The Impact of China’s ‘One Belt, One Road’ Initiative on
Thailand Strategy
Field Strategy
Name Mr. NATASOM TANGDAJAHIRAN Course NDC Class 60
The study on Thailand’s strategic direction towards China's the Belt and
Road Initiative (BRI), also known as One Belt, One Road initiative, is a qualitative
research. Three research aims are as followed: 1) to analyses the BRI, 2) to study the
impact of the BRI towards Thailand’s economy, and 3) to crate Thailand’s strategy
formulation towards the BRI. The result of the study suggests that Thai government
should employ the country’s potential on its geopolitical economy as Southeast
Asian hub. It also shows that the sustainability of national competitiveness
development policy should be considered alongside with the ‘Vision of the 20-Year
National Strategy and Reform’ particularly the ‘Thailand 4.0’ policy.
The study on Thailand’s strategic direction towards China's the Belt and
Road Initiative (BRI), also known as One Belt, One Road initiative, is a qualitative
research. Three research aims are as followed: 1) to analyses the BRI, 2) to study the
impact of the BRI towards Thailand’s economy, and 3) to crate Thailand’s strategy
formulation towards the BRI. The result of the study suggests that Thai government
should employ the country’s potential on its geopolitical economy as Southeast
Asian hub. It also shows that the sustainability of national competitiveness
development policy should be considered alongside with the ‘Vision of the 20-Year
National Strategy and Reform’ particularly the ‘Thailand 4.0’ policy.