เรื่อง: การพัฒนาโครงสร้างการบริหารราชการส่วนภูมิภาคในลักษณะ"ภาค"ให้มีความสอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปของรัฐบาลและบริบทของไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ณรงค์ รักร้อย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาโครงสร้างการบริหารราชการส่วนภูมิภาคในลักษณะ “ภาค” ให้มีความ
สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปของรัฐบาล และบริบทของไทย
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นายณรงค์ รักร้อย หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การศึกษาการพัฒนาโครงสร้างการบริหารราชการส่วนภูมิภาคในลักษณะ “ภาค” ให้มีความ
สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปของรัฐบาล และบริบทของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะวิเคราะห์
สภาพปัญหา ข้อจ ากัด และการพัฒนารูปแบบของการรวมกลุ่มพื้นที่ระดับจังหวัดในการจัดโครงสร้างการ
บริหารราชการส่วนภูมิภาค และศึกษาเชิงเปรียบเทียบรูปแบบ “กลุ่มจังหวัด”กับ “ภาค” รวมทั้งจัดท า
ข้อเสนอแนะในการพัฒนารูปแบบของการรวมกลุ่มพื้นที่ระดับจังหวัด โดยศึกษาค้นคว้าจาก แนวคิด
ทฤษฏี บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหารระดับสูง และเจ้าหน้าที่
ที่เกี่ยวข้อง
ผลการศึกษา พบว่า การด าเนินการของกลุ่มจังหวัด ยังไม่บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเจตนารมณ์
ของการจัดตั้งจึงน าไปสู่การจัดตั้ง “ภาค” โดยจัดตั้งคณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค(ก.บ.ภ.)
เพื่อเป็นองค์กรในการบริหารภาค การจัดท ากรอบทิศทางการพัฒนาและแผนพัฒนาภาค เพื่อใช้เป็นกรอบ
ในการบูรณาการงบประมาณและแผนงานโครงการ ตลอดจนเชื่อมโยงแผนทั้งระบบในลักษณะ “แผนเดียว
(One Plan)” มาปรับใช้เพื่อถ่ายทอดยุทธศาสตร์ลงในระดับพื้นที่ อย่างไรก็ดี การจัดตั้งภาคในปัจจุบันยัง
ประสบปัญหาในการด าเนินการ เช่น โครงสร้างการบริหารที่ขาดองค์กรที่รองรับการบริหารภาคในระดับ
พื้นที่ การจัดโครงสร้างการบริหารของส่วนราชการที่ไม่สอดรับกัน และ กระบวนงานในการวางแผน และ
บริหารงานภาคที่ขาดการประสานงานในระดับคณะท างาน ขาดการมีส่วนร่วมของพื้นที่ (Area) ในการ
วางแผนและการบริหารภาค และระเบียบ ข้อก าหนด และแนวทางในการด าเนินการยังไม่มีความชัดเจน
ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา ควรจัดตั้งส านักงานบริหารภาค ๖ ภาค เพื่อเป็นองค์กรที่
รองรับการบริหารภาคในระดับพื้นที่ โดยมีคณะท างาน อ.ก.บ.ภ. ระดับภาคเป็นหน่วยงานขับเคลื่อนใน
ระดับพื้นที่ ปฏิรูปการจัดโครงสร้างการบริหารราชการของส่วนราชการให้สอดคล้องกันกับภาค การ
ปรับปรุงกระบวนงานในการวางแผน และบริหารงานภาคที่เปิดโอกาสให้พื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในเสนอ
ความต้องการ การคัดเลือก และคัดกรองโครงการ และปรับปรุงระเบียบ ข้อก าหนด และแนวทางในการ
ด าเนินการให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
abstract:
ABSTRACT
Title: The Development of Administrative Structures of Regions in Accordance
with Reform Policies of the Government and Local Contextsof Thailand
Filed: Politics
Name: Narong Rakroin Course NDC Class 60
This research aims to study the development patterns, limitations and problems
of the establishment of regional administration in Thailand in order to provide the
suggestions to improve the administrative structures of regions in accordance with reform
policies of the government and local contexts. The study primarily employs qualitative
methodology by conducting the work in two parts including documentary research and
filed research via in-depth interviews with key informants.
The findings reveal that the previous operation of provincial clusters has faced
numerous problems because of 3 major issues; unclear hierarchy, lack of strategic steering
abilities and disintegration of budget allocation. In order to solve the issues, “Regions” and
regional super board chaired by the prime minister has been established. In order to
govern regions, blueprints of regional development and regional development plan have
been established for being used as frameworks for integrating the budgets and projects of
regional operations. However, there are 2 major issues concerning the administration of
regions includingno regional offices and lack of area-based participation.
In order to improve the efficiency of regional administration, therefore, the
government possibly establishes the regional offices. Secondly, the structure of provincial
administration of all ministries need to be reorganized aiming to synchronize with the
regional structures. Thirdly, the government shall provide more channels or opportunities
for local stakeholders to participate in the process of regional planning.