เรื่อง: การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของหมู่บ้านที่มีพื้นที่ติดชายแดนประเทศเมียนมาร์
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี จิรเดช กมลเพ็ชร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของหมู่บ้านตามแนวชายแดน
ในจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดเชียงราย (ศึกษาเฉพาะพื้นที่ชายแดนประเทศไทย -
เมียนมา)
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พลตรี จิรเดช กมลเพ็ชร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ชายแดนด้านจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงรายมีความรุนแรง
มาต่อเนื่องนับ ๒๐ ปี โดยเฉพาะห้วงปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑ นั้นถือว่ามีความรุนแรงมากขึ้นโดยรัฐบาลไทย
ได้ก าหนดให้การแก้ปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ เพื่อผนึกก าลังทุกภาคส่วนให้ร่วมในการแก้ไข
ปัญหา โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ส าคัญคือ การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดใน
ชุมชนของตนเองแต่อย่างไรก็ตาม จากการด าเนินการที่ผ่านมายังพบว่าในหมู่บ้านชุมชนตามแนวชายแดน
หลายหมู่บ้านก็ยังเป็นพื้นที่ที่มีปัญหายาเสพติดอยู่ในระดับสูง ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ด าเนินการวิจัยเกี่ยวกับ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบทัศนคติของ
ประชาชนที่มีต่อปัญหายาเสพติดที่เกิดขึ้นกับหมู่บ้าน, เพื่อทราบพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการแก้ไข
ปัญหายาเสพติดของประชาชนและเพื่อทราบรูปแบบของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไข
ปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนซึ่งการวิจัยครั้งนี้ได้ก าหนดขอบเขตในการวิจัยในเรื่องการมีส่วนร่วม
ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านที่มีพื้นที่ติดชายแดนประเทศเมียนมา
เฉพาะพื้นที่อ าเภอชายแดนของจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดเชียงราย เท่านั้นโดยใช้การวิจัยแบบผสมผสาน
ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งจากผลการวิจัย พบว่า ประชาชนในพื้นที่ชายแดน
ส่วนใหญ่ ยังคงมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดในรูปแบบต่างๆ แต่ก็ยังมี
ข้อจ ากัดหลายประการที่เป็นอุปสรรคต่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด อาทิเช่นทัศนคติของประชาชน
บางส่วน ที่ยังวางเฉยหรือไม่อยากให้ความร่วมมือกับภาครัฐ,ความแตกต่างของภาษาในแต่ละท้องถิ่น
ท าให้เป็นข้อจ ากัดของการรับรู้ข่าวสาร,สภาพภูมิประเทศที่ยากล าบาก รวมถึงข้อจ ากัดของกลไกการ
บริหารงานและตัวเจ้าหน้าที่ของภาครัฐด้วย ทั้งนี้ในการวิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑. การให้ความส าคัญกับกลไก
ของศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอ าเภอและต าบล เป็นกลไกหลัก โดยให้มีเอกภาพ
ในการด าเนินการ, ให้มีการจัดเฉพาะกิจ,มีอัตราก าลังผู้ปฏิบัติงานที่มีอ านาจหน้าที่โดยเฉพาะอย่างเดียว
ให้ได้รับสิทธิการปฏิบัติงาน เช่น ให้บรรจุในโครงสร้างสายงาน กอ.รมน. เป็นต้น ๒. รูปแบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในแต่ละพื้นที่ย่อมแตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่โดยการจัดท าโครงการแก้ไขปัญหายาเสพติด
ต้องเริ่มตั้งแต่กลไกระดับต าบล/หมู่บ้านทั้งนี้รูปแบบกิจกรรมควรให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตวิถีชนเผ่า
หรือวิถีชุมชนควบคู่ไปกับโครงการพัฒนาทางเลือกหรือการส่งเสริมอาชีพทางเลือกเพื่อแก้ไขปัญหา
ความยากจนด้วย โดยเงื่อนไขส าคัญคือการด าเนินงานต้องท าอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
abstract:
ABSTRACT
Title : The participation of the villagers in solving drug problems among
the border area in Chiangmai province and Chiangrai province (Study
the border areas of Thailand - Myanmar)
Field : Social- Psychology
Name : Major General Jiradech Kamolphet Course NDC Class 60
Drug situation in the border area Chiang Mai province and Chiang Rai province
Thailand, the violence has continued for 20 years, especially in the years 2017 -2018,
considered to be more violent. The Thai government has set up a solution to the problemof
narcotic drugs as the national agenda, to join forces in all sectors to contribute to the
problem. Especially the strategy is, Involve the local people in solving drug problems in
their own communities. However from the past, it was found that in villages along
several border villages. It is also a problematic area at high levels.Therefore, the researcher
has conducted research on local people's participation in narcotics problem solving. The
purpose to know the attitude of the people towards the drug problem that occurred in
the villages.To understand the behavior of participationin the problem solving of local
people and to know the pattern of local people's participation in solving drug problem in
the village/community. This research has set the scope of research on the participation in
the drug problem solving of local people living in villages along the border of Myanmar to
the border area of Chiang Mai Province and Chiang Rai Province only. Using integrated
research, both qualitative research and quantitative research.The results of this research,
which found that local people living in the border area remains mainly engage in activities
related to solve the drugs problem in various formats, but it also has several limitations
that hinder the drug problem solution, such as some local people's attitudes In the
absence of cooperation with the public sector, the differences in language in each locality
limits the perception of information, difficult terrain, including restrictions on administrative
mechanisms and government officials.This research has been suggested. In regard to the
participation of local people in resolving problems in the area, 2 issues, 1. the importance of
the mechanism for the preventionand suppression of the district and sub district is the main
mechanism. The unity in operation,a task organization, the rates are practitioners, specific
authority, the personal rights, such as filling in personal staff of Internal Security Operations
Command (ISOC) structure,etc. 2. format with the participation of the local people in
each area will vary according to each area. The drug problem solving project must start
from the sub-district/village level mechanism. Activities should be consistent with the2
tribal or community lifestyle, along with alternative development programs or promotion
of alternative occupations to takel poverty. The important condition is that the operation
must be done continuously and seriously.