เรื่อง: แนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ทางสังคม ด้วยกิจกรรมจิตอาสา เพื่อประโยชน์สาธารณะของประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี กรณ์ณพัชญ์ กิตติพิบูลย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ทางสังคม ด้วยกิจกรรมจิตสาธารณะ
: ศึกษาเฉพาะกรณีต ารวจภูธรภาค 6
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พลต ารวจตรี กรณ์ณพัชญ์ กิตติพิบูลย์ หลักสูตรวปอ. รุ่นที่60
ความตระหนักถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคนมีความเป็นคนที่สมบูรณ์
สังคมไทยเป็นสังคมคุณภาพ มีที่ยืนและเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสังคมได้ด าเนินชีวิตที่ดีมี
ความสุขและอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ การยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต
และสุขภาวะที่ดีส าหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ
มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วง
วัยและเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์
และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อย่างเหมาะสม เป็นที่มาในการศึกษา เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ทางสังคม ด้วย
กิจกรรมจิตสาธารณะ : ศึกษาเฉพาะกรณีต ารวจภูธรภาค 6 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์
หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับจิตสาธารณะ แนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมทางสังคม และ
เสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ด้วยกิจกรรมจิตสาธารณะ ผลการศึกษาสรุปได้
ดังนี้ คือ จิตสาธารณะเป็นสิ่งที่เกิดจากการฝึกอบรมตั้งแต่วัยเด็ก และจะพัฒนาไปเรื่อย ๆ จนถึง
วัยรุ่น และจนกระทั่งเป็นผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่จึงต้องคอยแนะน าส่งเสริมในสิ่งที่ถูกที่ควร คอยชี้แนะ และ
ปลูกฝังจิตสาธารณะให้แก่เด็กเป็นคุณธรรมของพลเมือง ท าให้ทุกคนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้
มีความรับผิดชอบในตนเอง ทุกคนได้มีโอกาสเรียนรู้มาตั้งแต่วัยต้นของชีวิตโดยอาจเป็นในวิถีทาง
ที่ต่างกัน ซึ่งเป็นผลให้บุคคลมีพัฒนาการทางจริยธรรมต่างกัน จากกฎเกณฑ์การตัดสินที่ต่างกัน
ความใฝ่ธรรม รู้จักตนเองของบุคคลนั้น คือ สร้างความสามารถในการพิจารณาให้รู้อิทธิพลของ
ความดีและความไม่ดีของตนให้ชัดเจน มีข้อเสนอแนะที่ส าคัญ คือ ควรมีการประชาสัมพันธ์ใน
สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ผู้ที่ท างานด้านจิตสาธารณะควรได้รับความคุ้มครองด้านสุขภาพ
มีกฎหมายคุ้มครอง จะน ามาซึ่งการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของคนไทยในสังคมให้เป็นคนดี เป็น
เรื่องที่จ าเป็น เพราะคนในสังคมต่างเรียกร้องในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ข
ค าน า
กระแสการเร่งพัฒนา และเศรษฐกิจที่บีบรัด ได้ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนใน
สังคมไทยให้เกิดการแข่งขัน มีค่านิยมทางวัตถุสูง เกิดการเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน มุ่งแสวงหา
ผลประโยชน์ให้กับตนเองมากกว่าส่วนรวม ขาดการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอย่างจริงจังและ
ต่อเนื่อง ท าให้เกิดภาวะขาดสมดุลทั้งทางจิตใจและวัตถุความส านึกต่อส่วนรวมจึงลดน้อยลง
ด้วยเหตุนี้จึงมีการกล่าวถึงค าว่า "จิตสาธารณะ" มากขึ้นเพื่อประโยชน์ที่จะเป็นแนวคิด
ต่อตนเอง อันจะสร้างประโยชน์ ก่อให้เกิดการพัฒนาทางสังคม การปลูกฝังจิตใจให้บุคคลมีความ
รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรมจริยธรรมซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดจากภายใน
"จิตสาธารณะ" เป็นสิ่งหนึ่งที่มีความส าคัญในการปลูกจิตส านึกให้คนรู้จักเสียสละ ร่วมแรงร่วมใจ
มีความร่วมมือในการท าประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ช่วยกันพัฒนา
คุณภาพชีวิต เพื่อเป็นหลักการในการด าเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุข
แก่สังคม
การแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อส่วนรวม พร้อมที่จะเสียสละและอุทิศตนเพื่อ
ประโยชน์ส่วนรวม มีความปรารถนาที่จะช่วยแก้ปัญหาให้แก่ผู้อื่นหรือสังคม ด้วยความเต็มใจ โดย
พิจารณาจากความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกหรือพฤติกรรมที่แสดงออกถึงลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าจะ
เป็นด้านการรับผิดชอบต่อสาธารณะสมบัติ และทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการท ากิจกรรมเพื่อสังคม
เข้าร่วมในเรื่องส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม ด้านการรับรู้และตระหนักถึงปัญหาที่
เกิดขึ้นและมีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมร่วมกัน ซึ่งจะเห็นได้ว่า จิตสาธารณะเป็น
คุณลักษณะที่ส าคัญอย่างยิ่งในการยกระดับจิตใจของมนุษย์
พล.ต.ต.
(กรณ์ณพัชญ์ กิตติพิบูลย์)
นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรวปอ.รุ่นที่60
ผู้วิจัย
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines for the development of moral ethics with public mental activity
: case study police division region 6
Field Social - Psychology
Name Police Major General Kornnapach Kittipibul Course NDC Class60
Awareness of sustainable development the focus is on developing people who are
completely human. Thai society is a quality society there is a stand and opportunity for everyone
in society have a good life, happy and in solidarity. To seize the "people-centered development" o
build quality of life and good health for Thai people to build quality of life and good health for
Thai people develop people to be complete, disciplined. Have knowledge, skills, creativity. Have
a good attitude, social responsibility ethical and moral. Develop people at all ages and prepare
them into the elderly society with quality including the creation of people to make use of and
environmentally friendly support utilize natural resources and environment appropriately.
It is in the study guidelines for the development of moral ethics with public mental
activity : case study police division region 6. The purpose is to study the principles of public
mental health, moral development social ethics social and moral counseling for moral
development. The results are summarized as follows public spirit is the result of training since
childhood. And will continue to grow until adolescence and until mature. Adults need to
encourage the right things to be guided and cultivate public mind for children is the virtue of the
citizen Everyone in society can live together.Self-responsibility everyone has had the opportunity
to learn since the early days of life. It may be in different ways. As a result, individuals have
different ethical developments, from the different judging criteria. Pursuit and know your self is
the ability to determine the influence of good and bad. There are important suggestions there
should be publicity in basic rights and freedoms, people who work in public mental health should
be protected have protection laws The moral of the Thai people in the society to be good it is
necessary. Because people in society are demanding morality in Thai society.