Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการเพิ่มศักยภาพการบริการขนส่งสินค้า โดยการจัดตั้งท่าเรือบกของการท่าเรือแห่งประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง อัฌนา พรหมประยูร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรื อง แนวทางในการเพิ มศักยภาพการบริการขนส่งสินค้า โดยการจัดตั งท่าเรือบกของการ ท่าเรือแห่งประเทศไทย ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย นางอัฌนา พรหมประย ู ูร หลักสูตร วปอ. ร่นที 01 ุ งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการและปัญหาการใช้บริการขนส่ง สินค้าผ่านท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบังของผู้ใช้บริการ เพือศึกษาความต้องการใช้บริการท่าเรือบก (Dry Port) สําหรับเป็ นทีพักเพือการบรรจุเข้าและแยกสินค้า (Container Freight Station : CFS) การตรวจ สินค้า (Inspection) และกิจกรรมเก ียวเนืองอืนๆ ของผู้ใช้บริการท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบัง และ เพือศึกษาแนวทางในการเพิมศักยภาพด้านการบริการขนส่งสินค้าของการท่าเรือแห่งประเทศไทย โดย ก า ร ศึ ก ษ า เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ ( Qualitative Research) โดยทําการศึกษาข้อมูลจากข้อมูลปฐมภูมิทีได้จากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกบการจัดตั ั งท่าเรือบก และสัมภาษณ์ความคิดเห็นจากผู้เชียวชาญ (Expert Opinion) และรวบรวมข้อมูลภาคสนาม ประกอบกบั ข้อมูลทุติยภูมิทีได้จากการค้นคว้าข้อมูลทีมีการรวบรวมไว้แล้ว และการใช้วิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ผลการวิจัยพบวา ่ 1. พฤติกรรมการใช้บริการและปัญหาการใช้บริการขนส่ งสินค้าผ่านท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือ แหลมฉบังของผ้ใช้บริการ ู ท่าเรือกรุงเทพ พบวา ผู้ใช้บริการมีการใช้บริการขนส ่ ่งสินค้าผานท ่ ่าเรือกรุงเทพ ประมาณ V.XX ล้านทีอียูต่อปี โดยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ คอนเทนเนอร์เปล่า ร้อยละ Z ตู้คอนเทน เนอร์ ทีบรรจุสินค้าเต็มตู้โดยผู้ส่งออกรายเดียว (Full Container Load: FCL) ร้อยละ ]^ และตู้คอนเทนเนอร์ ทีบรรจุสินค้าหลายเจ้าของหรือ (Less than Container Load: LCL) ซึงในกรณีนี ร้อยละ 17 สําหรับการใช้ บริการของตู้คอนเทนเนอร์จะแบ่งออกตามลักษณะบริการคือตู้ขาเข้าและตู้ขาออก ท่าเรือแหลมฉบัง พบวา ่ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก า ร มี ก า ร ใ ช้ บ ริ ก า ร ข น ส่ ง สิ น ค้ า ผ่านท่าเรื อแหลมฉบัง ประมาณ 7 ล้านทีอียู มีปริ มาณการส่งออกสูงกว่าการนําเข้ากว่าเท่าตัว และ มีปริมาณสินค้าทีขนส่งผานไอซีดีลาดกระบัง 1.43 ล้านทีอียู โดยท ่ ่าเรือแหลมฉบังต้องใช้ไอซีดีลาดกระบัง เป็ นทีพักเพือการบรรจุเข้าและแยกสินค้า (Container Freight Station: CFS) ตรวจสินค้า (Inspection) และ กิจกรรมเก ียวเนืองอืนๆ ตลอดจนการทําพิธีการทางศุลกากร เป็ นต้น 1.2 ปัญหาการใช้ บริการขนส่ งสิ นค้ าผ่ านท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบัง และไอซีดี ลาดกระบังของผ้ใช้บริการ ู ท่าเรือกรุงเทพ และท่าเรือแหลมฉบัง พบวา 1) พื ่ นทีหลังท่า ปัญหาความแออัดทีท่าเทียบเรือ 2) ด้านสถานทีและพื นทีบริการ ปัญหาท่าเทียบเรือมีจํานวนไม่เพียงพอต่อความต้องการ และ 3) เส้นทางการจราจรการเข้า–ออก ปัญหาความแออัดภายในท่าเรือ ปัญหาการจราจรโดยรอบท่าเรือติดขัด ใ น ข ณ ะ ทีไ อ ซี ดี ล า ด ก ร ะ บั ง พ บ ว่า เ ส้ น ท า ง ก า ร จ ร า จ ร ก า ร เ ข้ า –อ อ ก มีปัญหาสภาพถนนไม่เอื อต่อการใช้งาน ปัญหาความแออัด จากสภาพของถนนทีไม่สามารถรองรับปริมาณการ ข น ส่ง ไ ด้ อ ย่า ง เ พี ย ง พ อ แ ล ะ ที สํ า คั ญ คื อ ปั ญ ห า ด้ า น พื น ที บ ริ ก า ร ที ไ ม่เ พี ย ง พ อ แ ล ะ ไม่สามารถขยายพื นทีออกไปได้ 2. ความต้องการใช้บริการท่าเรือบก (Dry Port) พบวา ปริมาณความต้องการใช้บริการท ่ ่าเรือ บ ก ใ นอ นา ค ตมี ค วา ม สั ม พันธ์ โดย ตร ง กับ ป ริ ม า ณ ค วา ม ต้อง ก า ร ใ ช้บ ริ ก า รท่า เรื อแห ล ม ฉ บัง ซึ ง เ ป็ น ท่า เรื อ หลัก ข อง ป ระ เ ท ศ แ ล ะ ป ริ ม า ณ ค ว า ม ต้อง ก า รใ ช้บ ริ ก า รข อ ง ไอ ซี ดี ล า ด ก ร ะ บัง ซึงจากการศึกษาการพยากรณ์ความต้องการใช้บริการจะบอกได้วามีความต้องการทีจะใช้บริการท ่ ่าเรือบก อยางแน ่ ่นอน เนืองจากไอซีดีลาดกระบังมีขีดความสามารถในการรองรับตู้สินค้าเพียง 1.53 ล้านทีอียู /ปี และ ไ ม่ส า ม า ร ถ ข ย า ย พื น ที อ อ ก ไ ป ไ ด้ อี ก แ ล้ ว แ ต่ป ริ ม า ณ ตู้ สิ น ค้ า ผ่า น ท่า เ รื อ แหลมฉบังนั นเพิมขึ นอย่างต่อเนือง ดังจะเห็นได้จากตารางว่าในปี hXiZ ปริ มาณตู้จะเพิมขึ นเป็ น 10 ล้าน ทีอียู และจะเพิมสูงขึ นกวานี ่ เมือระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกเสร็จสมบูรณ์ 3. แนวทางในการเพิ มศักยภาพด้านการบริการด้านการขนส่ งสินค้าของการท่าเรือแห่งประเทศ ไทย พบว่า การจัดตั งท่าเรือบก (Dry Port) (Inland Container Depot: ICD) ซึ งจัดเป็ นโครงสร้างพื นฐานที เ ชื อ ม ต่อ กับ ก า ร ข น ส่ง ท า ง ถ น น แ ล ะ ท า ง ร ถ ไ ฟ ไ ป ยั ง ท่า เ รื อ แ ล ะ เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง ในการกระจายสิ นค้าไปยังจุ ดหมายปลายทางในประเทศ ช่วยขจัดปั ญหาของระบบการจราจร ทั ง โดย รอ บ บ ริ เวณ ท่า เรื อแ ล ะ ภา ย ใ นบ ริ เวณ ท่า เรื อ ล ดต้นทุ นโ ล จิ ส ติ ก ส์ เพิม ศัก ย ภา พ ใ น การดําเนินงานให้เกิดความคุ้มค่าของต้นทุน และการให้บริการทีดีขึ นเป็ นจุดดึงดูดการลงทุนธุรกิจด้านการ ขนส่ง ศูนย์กระจายสินค้า และกิจกรรมการแปรรูปสินค้าหรือผลิตภัณฑ์เพือสร้างมูลค่าเพิม นอกจากนี ท่าเรือ บกจะทําหน้าทีหลักในการเชือมต่อการขนส่งต่อเนืองหลายรูปแบบเข้าด้วยกน โดยเฉพาะการขนส ั ่งทางถนน กบทางรถไฟเชือมต ั ่อจากประเทศเพือนบ้านกบทางถนนและทางรถไฟของประเทศไทย ซึงสอดรับก ั บเส้นทาง ั ระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (R9) East-West Economic Corridor การให้กิจกรรมสนับสนุนไปอยู่ พื นทีนอกเขตพื นทีท่าเรือ รวมทั งเป็ นการเตรียมพื นทีของท่าเรือหลักของประเทศให้พร้อมรองรับปริมาณสินค้า ทีจะเพิมขึ นจากการขยายตัวทางการค้า การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC และ EEC ซึงท่าเรือบก จะช่วยสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) อีกด้วย

abstract:

112 Abstract Title Guidelines for Enhancing the Efficiency of Cargo Transportation Service through the Development of Dry Port of the Port Authority of Thailand Field Economics Name Mrs. Achana Promprayoon Course NDC Class 59 The objective of this research is to study the port user behavior in using freight services and problems incurred when using services at Bangkok Port and Laem Chabang Port, in order to explore the demand for Dry Port development to accommodate Cargo Inspection and other related activities to accelerate efficiency of the Port Authority of Thailand by using qualitative research methodology. The research was conducted through the primary data derived from interviews of potential Dry Port stakeholders and expert. Field data was also collected, including the secondary data obtained from the review of all literatures. A descriptive analysis was used and the results of this research show that port users transported their cargoes through Bangkok Port at approximately 1.55 million T.E.U.s per year, 79 percent of which are Full Container Load (FCL) and the remaining are Less than Container Load (LCL). At Laem Chabang Port, the container throughput is approximately 7 million T.E.U.s per year. Currently, Laem Chabang Port is linking with ICD Lad Krabang for the services of container freight station, cargo inspection and other related activities including customs clearance. The problem that users have experienced are service areas, specifically, limited number of berths which does not meet demands; and traffic congestion within and surrounding the port area. Regarding the demand for Dry Port, according to the result of the research, it shows that the need of Dry Port Services is increasing, based on the forecast volume of Port’s Container Throughputs and port services demand. From the research, it is recommended that the Ministry of Finance should support the development of the port business by granting the Port Authority of Thailand an exemption from contributing its revenue to the Government and use that budget for investment. Meanwhile, the Port Authority of Thailand have to accelerate the process of study on the suitable location for Dry Port, and it should be ready for service by 2019.