Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: หลักการสงครามเศรษฐกิจและการต่อสู้สู่จุดสมดุล

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก อรรถนพ ลาภชุ่มศรี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย อ บทคัดย อ เรื่อง เรื่อง หลักการสงครามเศรษฐกิจและการต อสูสู จุดดุลยภาพ ลักษณะวิชาการเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา ผูวิจัย พันเอก อรรถนพ ลาภชุ มศรี หลักสูตร ผูวิจัย หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ ๕๙ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค/ในการศึกษาวิเคราะห/ถึงป1จจัยต างๆ ของสงคราม เศรษฐกิจ โดยนําเสนอแนวทางการต อสูกับสงครามเศรษฐกิจดวยหลักการสงคราม และหลักการทาง เศรษฐศาสตร/ทั้งดานอุปสงค/และดานอุปทาน พบว า สาเหตุของป1ญหาเกิดจากความขัดแยงทาง ความคิดและการกระทํา ซึ่งนําไปสู การต อสู หรือทําสงคราม โดยการศึกษาในครั้งนี้ไดทําการรวบรวม ทฤษฎี ตัวแบบทางดานเศรษฐศาสตร/ของนักเศรษฐศาสตร/ต างๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อนําเสนอแนวคิดใหม ที่สามารถนํามาต อสูกับสงครามเศรษฐกิจได ผลจากการศึกษาพบว าสามารถนําหลักการสงคราม และ หลักการทางเศรษฐศาสตร/มาประยุกต/ใชเพื่อเป;นป1จจัย และเครื่องมือเขาต อสูกับภัยคุกคามทางดาน สงครามเศรษฐกิจ อีกประการหนึ่งก็เป;นการนําเอาทฤษฎีเกมเขามาประยุกต/ใชในการนําสงคราม เศรษฐกิจที่เผชิญอยู นําเขาสู จุดสมดุลของแนช อันจะเป;นประโยชน/อย างมากต อการกําหนดแนวทาง หรือมาตรการต างๆ ในการจัดการของสงครามเศรษฐกิจไดอย างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเป;นการ รักษาระดับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหอยู ในระดับใกลเคียงกับศักยภาพของประเทศใหมากที่สุด และเพื่อเป;นการวางรากฐานทางเศรษฐกิจในอนาคต โดยมีขอเสนอแนะแนวทาง ดังนี้ ๑) รัฐควร กําหนด หรือวางแนวทาง มาตรการต างๆ ในการจัดการเรื่องเศรษฐกิจใหชัดเจน เนื่องจากป1จจุบัน ประเทศไทยอยู ในภาวะที่มีการแข งขันการลงทุนและตองเผชิญกับคู แข งต างประเทศ ที่รอทําสงคราม ทางเศรษฐกิจอยู ตลอดเวลา ๒) รัฐควรวางแผนรับมือกับการทําสงครามเศรษฐกิจ ระหว างประเทศ มหาอํานาจดวยกันในป1จจุบัน เนื่องจากประเทศไทยเป;นประเทศที่กําลังพัฒนาย อมไดรับผลกระทบ จากการทําสงครามของประเทศมหาอํานาจ เพราะสงครามที่โลกตองเผชิญครั้งใหม จะเป;นสงคราม เศรษฐกิจมากกว าจะเป;นสงครามนิวเคลียร/ และแน นอนที่สุดอาวุธทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลมากที่สุด ก็คือ เงินดอลลาร/ที่เป;นสกุลหลักในทุนสํารองระหว างประเทศของประเทศต างๆ ทั่วโลก

abstract:

Abstract Abstract Title Title Principles of economic war and fighting towards the equilibrium situations. Field Economics Name Colonel Attanop Labsumsri Course NDC Class 59 The research has main purposes to study and analyze relevant factors of economic war by presenting the ways to fight it through war and economic principles, both demands and supplies academic knowledge. It finds that the root causes of problems come from the conflicts of thinking and actions leading to the mentioned fight or war. The research collects relevant theories, economic models of involved economists in order to present new ideas that can fight this war. It also finds that we can use war ad economics principles applied them as factors and tools to encounter the current economic threats. In addition, it is to apply games theories to face these economic war moving towards the Nash’s equilibrium points that are very useful for designing approaches or any measures to cope with economic war efficiently and to maintain the economic progress to the nation’s potentiality and capability as much as possible with the aims of paving the way for future economic bases. The paper proposes the recommendations as follow : 1. The authority should designate measures to clearly cope with present economic conditions of the investment competitions and face the competitions from other countries that are ready to do the economic war ; 2. The authority should prepare to encounter the international economic wars among power nations because Thailand as developing country could not avoid the impacts of those conflicts and wars and because the new war would rather concern the economic matters more than nuclear matters ; and lastly it is certain that most influent economic tools should still be the US dollars that is the main currency using in international reserves among the world nations.