Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนดของกระทรวงกลาโหม ในส่วนของกองทัพบก

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี อยุทธ์ ศรีวิเศษ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาโครงการเกษียณอายุราชการก่อนก าหนดของกระทรวงกลาโหม ในส่วนของกองทัพบก ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรีอยุทธ์ ศรีวิเศษ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙ การวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษาวิเคราะห์การด าเนินการ และผลสัมฤทธิ์ของโครงการ เกษียณอายุราชการก่อนก าหนดของกระทรวงกลาโหม ในส่วนของกองทัพบก ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ และศึกษาวิเคราะห์มูลเหตุจูงใจของก าลังพลในการเข้าร่วม หรือไม่เข้าร่วมโครงการ ฯ กับเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาโครงการ ฯ ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๑ และที่อาจมีขึ้นในอนาคต รวมถึงให้ได้ ข้อเสนอแนะ ทั้งในเชิงนโยบาย และการน าไปปฏิบัติในประเด็นอื่น ๆ ที่มีความส าคัญ และสอดคล้องกับ การลดจ านวนก าลังพลของกระทรวงกลาโหม ในส่วนของกองทัพบก โดยขอบเขตการวิจัย มีประเด็นปัญหา ประกอบด้วยผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ฯ ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ กับมูลเหตุจูงใจของก าลังพล ในการเข้าร่วม หรือไม่เข้าร่วมโครงการ ฯรวมถึงข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยใช้แหล่งข้อมูลจากกลุ่มของก าลังพล ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในโครงการเฉพาะในส่วนของกองทัพบก และผู้ทรงคุณวุฒิส าหรับกลุ่มก าลังพล ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในโครงการฯ นั้น ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากแหล่งข้อมูล จ านวน ๓๒ นาย โดยแบ่งเป็น ๔ กลุ่ม ตามหน่วยซึ่งอยู่ในพื้นที่กองทัพภาคที่ ๑ – ๔ กองทัพภาคละ ๒ นาย รวมเป็นกลุ่มละ ๘ นาย กลุ่มแรก คือ กลุ่มผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน กลุ่มที่สอง คือ กลุ่มผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบโครงการ ฯ กลุ่มที่สามคือ กลุ่มผู้ตัดสินใจเข้าร่วมโครงการ ฯ และกลุ่มสุดท้าย คือ กลุ่มผู้ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนแต่ยังไม่เข้าร่วมโครงการ ฯผลการวิจัย สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ฯ ด้านการลดจ านวนก าลังพลที่สูงอายุไม่บรรลุผล ส่วนด้านการบรรเทาปัญหาความคับคั่งของก าลังพลใน ชั้นยศสูง บรรลุผลเฉพาะกลุ่มนายทหารประทวน และด้านการประหยัดงบประมาณด้านบุคคลภาครัฐ ระยะยาว บรรลุผล โดยมูลเหตุจูงใจของก าลังพลในการเข้าร่วม คือ การขอพระราชทานยศหรือการ เลื่อนยศสูงขึ้นเป็นกรณีพิเศษ กับสิทธิประโยชน์อื่น ๆ ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน ส่วนมูลเหตุ ที่ก าลังพลไม่เข้าร่วมโครงการ ฯ คือ ความคาดหวังที่จะก้าวหน้าในหน้าที่การงาน กับความไม่มั่นใจ เกี่ยวกับรายได้ในการดูแลครอบครัว และบางส่วนยังเห็นว่าเงินก้อนชดเชยมีจ านวนน้อยไป รวมถึง การมีหนี้สินภาระผูกพันกับทางราชการ และการไม่มีบ้านพักเป็นของตนเอง ทั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ คือ เชิงปฏิบัติการ ควรมีการก าหนดเกณฑ์ส าหรับเป้าหมายที่แท้จริงของโครงการ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความ ชัดเจน โปร่งใส และง่ายต่อการบริหารจัดการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ส่วนในเชิงวิชาการ ควรมีการประเมินโครงการฯ ทั้งเป็นรายปีและภาพรวมของทุกปีงบประมาณ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงตามหลักวิชาการ รวมถึงประเมินแนวทางอื่น ๆ ที่มีควบคู่ไปด้วยเพื่อให้เห็นภาพรวมของ กระทรวงกลาโหมได้สมบูรณ์ ชัดเจน มากยิ่งขึ้น และเชิงนโยบาย สมควรที่จะต้องมีการพิจารณาสร้าง ระบบปลดถ่ายก าลังพลอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรมตั้งแต่บัดนี้โดยแสวงหาความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ให้ช่วยรองรับ หรือสนับสนุนการด าเนินการของกระทรวงกลาโหม

abstract:

ABSTRACT Title The Ways to Improve the Ministry of Defence’s Early Retirement Program Studied only in Part of the Royal Thai Army Field Military Name MAG GEN AYUT SRIVISES Course NDC Class 59 The objective of this research is to study the processes and achievements of Ministry of Defence’s Early Retirement Program studied only in part of the Royal Thai Army (RTA) during 2557 – 2560 B.E. fiscal years. The scopes of this research are the study of achievement of the program from the previous fiscal years and motives that cause RTA personnel whether they will join the program or not. This qualitative research methodology uses in-depth interview as the method of data collection. Samples used in the research are thirty two soldiers from the 1st to 4 th Army Areas, two from each Army Area. Samples are divided equally into four categories; commanders and friends, administratorsand people who are in charge of the project, soldiers who decide to join the program, and qualified soldiers who decide not to join the program. The results show that the program does not achieve its goal in term of reducing the number of older age soldiers. The program can reduce the overcrowded NCOs at the higher ranks but fails to do so for officers. Finally, the program achieves its goal in term of reducing the long-term personnel budgets. Motives that influencearmy personnel to join the program are promotions to higher ranks after their retirements and other monetary and non￾monetary benefits. On the other hand, the reasons that soldiers decide not to join the program are expectations to be promoted, uncertainty about their future incomes, inadequate amount of the provided extra money, unable to pay up their loans and problems in housing. The research also provides some recommendations. In operation term, true criteria to achieve the goals should be planned so that the goals of the program will be clear and easyto administrate. In conceptual term, there should be yearly and overall evaluations in the Ministry of Defence level for clearer views of the program. Also, the study of other available programs should be made. Finally, in strategic term, a solid retirement program for military personnel should be planned. This new program must be cooperated by all concerned sectors beyond the Ministry of Defence for a better retirement program for all military personnel.