Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมการตรวจคัดกรองภาวะพร่องธัยรอยด์แต่กำเนิด

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันตำรวจเอก สุพล จงพาณิชย์กุลธร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางสงเสริมการตรวจคัดกรองภาวะพรองธัยรอยดแตกําเนิด ลักษณะ วิชาสังคมจิตวิทยา ผูวิจัย พันตํารวจเอก สุพล จงพาณิชยกุลธร หลักสูตร วปอ. รุนที่59 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาวะการตรวจคัดกรองภาวะพรองธัยรอยด แตกําเนิด และเพื่อเสนอแนวทางการสงเสริมการตรวจคัดกรองภาวะพรองธัยรอยดแตกําเนิด โดยการศึกษากําหนดขอบเขตในการศึกษาที่โรงพยาบาลตํารวจ วิธีการที่เกี่ยวของ ความพรอมของ บุคลากร เครื่องมือ ทดสอบประสิทธิภาพของน้ํายา กําหนดคา Cutting Point ของ Blood TSH กําหนดการศึกษาที่โรงพยาบาลตํารวจ โดยใชวิธีLongitudal Prospective Study เก็บเลือดจาก การหยดเลือดลงกระดาษกรอง เพื่อคนหาคา TSH จากทารกแรกเกิดทุกคนที่คลอดในโรงพยาบาล ตํารวจตรวจหาคา TSH โดยวิธีMEIA (Microparticle Enzyme Immunoassay) ทารกแรกเกิด ที่มีคา Blood TSH >25 mu/L ที่เปนคา Cutting Point จะถูกเรียกกลับมาโรงพยาบาลเพื่อทําการ ตรวจยืนยันการวินิจฉัยโรคนี้Confirmation Tests ไดแก FT4, TSH, X-Ray Bone Age, Thyroid Scanผลการศึกษาในกรณีศึกษา มีจํานวนทารกแรกเกิดที่ไดรับการเก็บ Blood TSH จํานวน 7.753 ราย จํานวนทารกแรกเกิดมีชีพในชวงเวลาเดียวกัน เทากับ 7,772 ราย คิดเปนจํานวนทารกแรกเกิด ที่ไดรับการตรวจคัดกรองจํานวนทั้งสิ้น 99.75% จากตัวอยาง Cord Blood TSH ที่ไดรับการตรวจ สามารถคาเฉลี่ยของ Cord Blood TSH ไดดังนี้ คาเฉลี่ย Blood TSH เทากับ 4.92 ±2.08 mU/L ซึ่งใกลเคียงกับคามาตรฐานทั่วไปจากจํานวนทารกแรกเกิดที่ไดรับการตรวจคา Blood TSH พบวา มีทารกแรกเกิดที่มีCord Blood TSH >25 mU/L มากกวาคา Cutting Point เทากับ 117 ราย ซึ่งสามารถคํานวณหาคาอัตราการเรียกกลับมาตรวจซ้ํา (Recall Rate) ไดเทากับ 1.5% ทารกแรก เกิดที่ตรวจพบคา TSH >25 mU/L ไดรับการตรวจยืนยันโรคนี้จํานวน 107 ราย พบวา มีทารกแรกเกิด 2 ราย ที่มีผลเลือดและการตรวจ X-Ray Bone Age เขาไดกับภาวะ Congenital Hypothyroidism โดยเปนเพศหญิง 1 คนและเพศชาย 1 คน

abstract:

ABSTRACT Title : Neonatal Screening for Congenital hypothyroidism in Police General Hospital Field : Social Psychology Name : Dr. Supon Jongpanichgultron Course NDC Class 59 The objectives of this research were to study screening of hypothyroidism in newborn babies, and to study supporting guideline to improve screening of hypothyroidism. The scope was for the Police General Hospital, studying the screening methodology, personnel, tools and equipment. TheCutting Point of Blood TSH (Thyroid Stimulating Hormone usingLongitudal Prospective Study.Blood samples were collected on filter papers, to identify TSH in all babies borne at the Police GeneralHospita. Screening TSHbyusingMEIA (Microparticle EnzymeImmunoassay). Newborn babies withBlood TSH >25 mu/L (Cutting Point) would be recalled to the hospital for rechecking with confirmation tests; FT4, TSH, X-Ray Bone Age, Thyroid Scan. The results showed that there were 7.753 newbornbabiesscreenedfor TSH, whilethereweretotal7,772 newbornbabies, accountedfor99.75% screened. Average cord blood TSH was 4.92 ±2.08mU/L, which is close to standard value. There were 117 newborn babies withcord blood TSH >25mU/L and recall rate was 1.5%. 107 newborn babies TSH >25mU/L, there were 2 babies that confirmed blood test results and X-Ray Bone Age results asCongenital Hypothyroidism, one baby boy and one baby girl.