Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความมั่นคงทางด้านวัคซีนของประเทศ เพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม่

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สุชาติ วงษ์มาก
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง ความมันคงด้านวัคซีนของประเทศเพือรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พลตรี สุชาติ วงษ์มาก หลักสูตรวปอ. รุ่นที ปั จจุบันภัยคุกคามต่อความมันคงรู ปแบบใหม่ทีส่ งผลกระทบกับประชาชน และประเทศชาติมีความซับซ้อนและเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น การก่อการร้าย อาชญากรรม ข้ามชาติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม่ ความมันคงของชาติจึงมิได้ครอบคลุมเฉพาะ มิติด้านการทหารหรืออํานาจอธิปไตยเท่านัน แต่ยังเป็ นรากฐานของการดําเนินกิจกรรมทีครอบคลุม ทุกบริบท ทังทางเศรษฐกิจ สังคม วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของผู้คนภายในรัฐ ภัยจากโรคอุบัติใหม่ ซึงรวมถึงโรคติดเชืออุบัติซํา (Emerging Infectious Diseases, EID) เป็ นภัยคุกคามความมันคง ของชาติ แต่สําหรับประเทศไทยยังเป็ นเรืองใหม่จึงมิได้บูรณาการเข้าเป็ นส่วนหนึงของงาน ทีสภาความมันคงแห่งชาติจะต้องเฝ้ าติดตาม “วัคซีน” เป็ นเครืองมือสําคัญในการป้ องกันและ ควบคุมโรคทางสาธารณสุข ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทําให้มีการวิจัยพัฒนา วัคซีนทีมีประสิทธิภาพ มีความปลอดภัย มีความหลากหลายครอบคลุมจํานวนโรคมากขึน และทํา ให้ความต้องการใช้วัคซีนมีแนวโน้มเพิมขึนมาโดยตลอด ขณะทีกําลังการผลิตวัคซีนในโลก มีปริมาณจํากัด โดยเฉพาะอย่างยิง เมือมีความต้องการใช้วัคซีนมากขึน ทังในภาวะทีมีการระบาด หรือมีการณรงค์การใช้วัคซีนส่งผลให้เกิดการขาดแคลนวัคซีนเป็นระยะปัจจุบันมีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขเป็ นหน่วยงานหลักทีรับผิดชอบในการป้ องกันเท่านัน แต่แผนยุทธศาสตร์ และมาตรการส่วนใหญ่เป็ นลักษณะของการตังรับแก้ปัญหามากกว่าการป้ องกัน วัคซีนทีมีใน แผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคก็ยังคงเป็ นวัคซีนป้ องกันโรคทีมีมานานแล้ว ไม่มีแผนยุทธศาสตร์ ทีชัดเจนกับโรคอุบัติใหม่ กระบวนการจัดหาวัคซีนในแต่ละปี ก็คํานึงถึงเฉพาะปริมาณและชนิด ของวัคซีนทีต้องใช้ในปี นันเท่านัน มิได้คํานึงถึงการสํารองเพือใช้ในยามปกติและภาวะฉุกเฉิน การส่งเสริ มและสนับสนุนให้เกิดการผลิตวัคซีนภายในประเทศยังไม่มีมาตรการจูงใจทีเป็ น รูปธรรม ในขณะทีประเทศอืนๆมีแนวทางสร้างความมันคงด้านวัคซีนของประเทศโดยการออก มาตรการหลายอย่างเพือจูงใจให้เกิดการพัฒนาและผลิตวัคซีนในประเทศ จากการวิเคราะห์พบว่า ประเทศไทยมีโอกาสในการพัฒนาความมันคงด้านวัคซีนของประเทศได้ดี เนืองจากมีหลักคิดและ แนวนโยบายทีเป็ นพืนฐานทีได้รับการถ่ายทอดมาเป็ นเวลานาน แต่เมือศึกษาจากหลักคิดและ แนวทางความมันคงด้านวัคซีนของประเทศทีเจริญแล้วจะเห็นว่าประเทศไทยยังคงต้องใช้เวลาอีกข ระยะหนึงในการปรับแนวความคิดของผู้รับผิดชอบในทุกระดับให้เข้าใจนโยบายและแผน ยุทธศาสตร์วัคซีนของชาติอย่างแท้จริง เพือให้ทุกหน่วยงานทีเกียวข้องจะได้นําไปจัดทําเป็ นแผน ยุทธศาสตร์ของแต่ละหน่วยงานให้เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน และประกอบกับสถานการณ์ทีมีอยู่ใน ปัจจุบัน ส่วนราชการและองค์กรต่างๆ ต้องก้าวพ้นกรอบความคิดและการทํางานแบบดังเดิม โดยต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าความมันคงด้านวัคซีนคือความมันคงของชาติอีกแขนง ดังนัน เพือให้ ประเทศไทยมีขีดความสามารถด้านการผลิตวัคซีนในระดับอุตสาหกรรมได้อย่างแท้จริง จึงมี ข้อเสนอแนะใน เรือง ได้แก่ เรืองกฎหมายแม่บท,หน่วยรับผิดชอบในการบูรณาการ,งบประมาณ และกลไกด้านงบประมาณ และมาตรการการส่งเสริมการผลิตวัคซีนขึนใช้เองในประเทศ

abstract:

ABSTRACT Title : National Vaccination Security In Responding To Modern Threats Field : Social -Psychology Name : Major General Suchart Wongmark Course NDC Class 9 The main objective of this research was to study achievement throughout the project budget implementation phase on One Province One Agro-Industrial Product project, synthesize project performance and problem state and propose improvements concept of empowerment of Small and Medium Business. The results of this study indicated most participating agro- processing industry operators are small and medium businesses, an accounted for 84.43 percent of the total plan. The operation from 2013 until 2015, there are more than 87 participating and more than 140 plans establishments in the North and each SME can reduce costs, Increase revenue and value added on average 1 million baht. It can measure the economic value of money is more than 87 million from the total budget of 14 million baht, the benefits are 6.21 times the budget. The problems and obstacles encountered during project implementation can be further improved in future project implementation including, there should be an increase in the basic organizational management plan for entrepreneurs with centralized management to develop SME potential for understanding, management and implementation. It is important to set eligibility criteria for the qualification of the entrepreneur who must have a basic organizational management system prior to joining other plans. There should extend or move the project implementation period to correspond with the season of production of processed agricultural products. It should develop a plan related to information systems (IT), which is a basic data storage system to analyze and develop business and should develop a plan related to financial planning to find sources of capital to assist entrepreneurs in conducting business in the future.