Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดระบบบริการสุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมศักดิ์ อรรฆศิลป์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการจัดระบบบริการสุขภาพเพื่อรองรับการเปนสังคมผูสูงอายุของประเทศไทย ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา . ผูวิจัย นายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป หลักสูตร วปอ. รุนที่ 59 ปจจุบันประชากรโลกไดเปลี่ยนผานสูประชากรสูงวัย ประเทศไทยมีผูสูงอายุสูงสุดเปน อันดับ 2 รองจากประเทศสิงคโปรโดยในป2583 จะมีผูสูงอายุรอยละ 32.1 ของประชากรทั้งหมด ประเทศไทยจําเปนตองเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณที่คาดการณไวทั้งในดานการดูแลรักษา การ บริบาลผูสูงอายุทั้งในดานสังคม สุขภาพ และสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสมโดยมีเปาหมายใหผูสูงอายุที่มี ภาวะ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหและประเมินสถานการณการใหบริการทางการแพทย สําหรับผูสูงอายุตามหลักการบริหารจัดการระบบสุขภาพขององคการอนามัยโลกเพื่อระบุประเด็น ปญหาในการใหบริการที่ควรไดรับการพัฒนา และเสนอแนวทางการปรับปรุงระบบการบริการทางดาน สุขภาพใหสอดรับกับความตองการดานสุขภาพผูสูงอายุในประเทศไทย โดยการวิจัยครั้งนี้เปนการ วิเคราะหขอมูลทรัพยากร และศักยภาพการจัดบริการดานสุขภาพแกผูสูงอายุในสถานบริการภาครัฐใน พื้นที่นํารอง 5 จังหวัด ไดแก นครราชสีมา สุราษฎรธานี ขอนแกน เชียงรายและนนทบุรีภายใตระบบ สารสนเทศทางสุขภาพที่มีในปจจุบันรวมกับการรวบรวมความคิดเห็น ขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญและ ผูใหบริการดานสุขภาพแกผูสูงอายุจากหนวยงานตางๆ ทุกภาคสวนที่เกี่ยวของภายใตกรอบความคิด ระบบบริการสาธารณสุขขององคการอนามัยโลกและวิเคราะหขอมูล ผลการวิจัยพบวา การจัดระบบ บริการสาธารณสุขสําหรับผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงยังไมครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยพบการจัดบริการใน ระดับโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชน แตยังคงขาดการจัดบริการสาธารณสุข ระยะกึ่งเฉียบพลัน ซึ่งสามารถกําหนดแนวทางการจัดระบบบริการสุขภาพสําหรับผูสูงอายุของประเทศ ไทย ไดดังนี้1. การจัดระบบบริการสุขภาพผูสูงอายุควรเริ่มในทุกระดับตั้งแตครอบครัว ชุมชน จนถึง สถานบริการสุขภาพและมีระบบสงตอและใหคําปรึกษาระหวางแพทยกับผูจัดการดูแล 2. การเตรียม สถานบริการและพัฒนาผูดูแลผูสูงอายุโดยกําหนดคุณสมบัติและหลักสูตรสําหรับผูทําหนาที่ในระบบ การดูแลผุสูงอายุ3. บูรณาการระบบขอมูลระหวางกระทรวง ไดแก ฐานขอมูลทะเบียนราษฎร ฐานขอมูลสุขภาพ เปนตน พรอมทั้งกําหนดมาตรฐานความปลอดภัยของขอมูล 4. ควรสนับสนุนใหเกิด การผลิต คิดคนนวัตกรรมใหมๆสําหรับดูแลผูสูงอายุ5. การบูรณาการงบประมาณเพื่อบริการดาน สวัสดิการสังคมตลอดจนการออมเงินเขาสูกองทุนเพื่อชราภาพ 6. พัฒนารูปแบบและแนวทางการ ปฏิบัติและการบริหารจัดการดานสุขภาพและสังคมของผูสูงอายุ โดยใหคณะกรรมการบริหารจัดการ เครือขายสุขภาพอําเภอ บริหารจัดการ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน อีกทั้งมีอํานาจในการ บริหารจัดการกองทุนสําหรับผูสูงอายุใหเกิดประโยชนสูงสุด

abstract:

ABSTRACT Title Approach the health service system to support the elderly society, Thailand. Field Social -Psychology . Name Mr. Somsak Akksilp Course NDC. Class 59 The population of the world has changed to the ageing population. Thailand has thehighest elderly of ASEAN, In2583the elderly people are32.1 percent of the total population. To prepare health service system is necessary to accommodate the situation. To take care elderly people, both in the social, health and environmental goals are appropriately. The objective of research areto analyze and assess thehealth servicefor the elderlysituation based on health systems management, the principles of the World Health Organization to identify issues in service delivery should be developed. And to propose guidelines to improve the health service system, provide a consistent to health needs of the elderly. In addition, the document research, is the resources and potential to organize health services system for the elderly in public sector services are analyze,Five areas of this study consist of Nakhon Ratchasima, Suratthani, Khon-Kaen, Chiang Rai and Nonthaburi province. Under the health information systems that are currently documents and shared with the gathering reviews. Suggestions from the experts, and health care providers for the elderly from all agencies in related sectors are reviews. By the public health service system, the conceptual framework of the World Health Organization, and content analysis are used in this document.The result of this study are as follow: the public health service system for dependent elderly people is not available in all areas.Theservices found inthetertiary hospital, secondary hospital and primary hospital, lackof subacute health care service.The guideline of health service system for elderly people is as follows:1.The elderly health services system should start in all levels, the family. Community health services, and there is a forwarding system and consultation between doctors to care managers. 2.Preparation and development of care for ageing without qualifications and courses for those acts in the administration system, consist of the elderly.3.For management information system by integrated information system between Ministry of citizenship registration database include database with health information and define information security standards. 4. Should encourage the production of new innovation for elderly care.5. An integrated budget for welfare of income and the Funding for elderly are sustainableto function. 6. Development model and guidelines of health service system for elderly, District Health Board authorities are planning, monitoring and evaluation ageing project encourages beneficialmanagement fundingfor elderly.