Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาความผูกพันองค์กรของข้าราชการสังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก สมพงษ์ เภาพูล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาความผูกพันองค์กรของข้าราชการทหารสังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พันเอก สมพงษ์ เภาพูล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙ การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อศึกษา แนวทางการพัฒนาความผูกพัน องค์กรของข้าราชการทหารสังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย จ านวน ๕๐๐ นาย ที่ได้มาโดยการสุ่ม แบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลทั่วไปของบุคคลพบว่า ข้าราชการที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๖ และรองลงมาเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ ๔๖.๔ ข้าราชการที่ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ ๓๑ - ๔๐ ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๒ ข้าราชการที่ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่ปฏิบัติงานสังกัด ส่วนเสนาธิการร่วม คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๒ ข้าราชการที่ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับอัตราเงินเดือนที่ ๑๐,๐๐๑ – ๒๐,๐๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๐ ข้าราชการที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนายทหารประทวน คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๔ ข้าราชการที่ ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นรับราชการประมาณ ๑ - ๕ ปี คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๔ ปัจจัยที่มีความส าคัญท าให้บุคลากรมีความตั้งใจในการท างาน และอุทิศตนให้กับงานที่ท า พึงพอใจในการท างานกับหน่วยงานของตนเอง โดยบางปัจจัยเท่านั้นที่บุคลากรมีความคิดเห็นว่าต้อง ปรับปรุง ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีบาร์นาร์ด มองว่าองค์กรเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจกันอย่างมี สติอันแรงกล้าของบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป หรือมากกว่าเพื่อกระท าอย่างหนึ่งอย่างใดให้ส าเร็จ ความ ร่วมแรงร่วมใจดังกล่าวนี้เกิดจากความสามารถขององค์กรที่จะก่อให้เกิดวัตถุประสงค์อันเดียวกัน ระหว่างองค์กรและสมาชิก จากความเต็มใจของสมาชิกในอันที่จะเข้าไปปฏิบัติงาน และจากการสื่อ ข้อความเป็นตัวเชื่อมระหว่างการโน้มน้าวจิตใจให้คนปฏิบัติงานโดยองค์กร และความเต็มใจของ คนงานที่จะปฏิบัติงานตามที่องค์กรร้องขอนอกจากนี้ยังได้รับการไว้วางใจจากผู้บังคับบัญชามีการ ยกย่องชมเชยผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาเมื่อปฏิบัติงานดีและได้รับความช่วยเหลือจาก ผู้บังคับบัญชาเมื่อประสบปัญหา สถานที่ท างานก็มีสิ่งอ านวยความสะดวกและท าให้รู้สึกปลอดภัย เพื่อนร่วมงานมีความเป็นมิตรที่ดีรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน สวัสดิการที่หน่วยงานมีให้เหมาะสม สามารถมีรายได้เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพของตนเองและครอบครัว และหน่วยงานส่งเสริมให้มี ความก้าวหน้าและความรู้ความสามารถเพิ่มขึ้น ปัจจัยจูงใจเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานโดยตรงเพื่อ จูงใจให้ตนชอบและรักงานที่ปฏิบัติเป็นตัวกระตุ้นท าให้เกิดความพึงพอใจให้แก่บุคคลในองค์กรให้ ปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพราะปัจจัยที่สามารถสนองตอบความต้องการภายใน ของบุคคลได้ด้วยอันได้แก่ ๑) ความส าเร็จในการท างานของบุคคล ๒) การได้รับการยอมรับนับถือ ๓) ลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ๔) ความรับผิดชอบ ๕) ความก้าวหน้า

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines for Organizational Commitment Development of Military Officers under the Thai Armed Forces Headquarters Field Military Name Col. Sompong PaoPool Course NDC Class 59 This research. The purpose of research is to study. A Guidelines for development of organizational commitment of Thai Military officers under The commanders of 500 Thai military commanders acquired by multi-stage random sampling. The instrument used the collect data was the statistical questionnaire used for data analysis, ie percentage, mean, standard deviation. Testing the value of One￾way analysis of variance The research found that General information of the person found. The government officials who answered the questionnaire were mostly male. 53.6% were female and the second was female. 46.4% of the respondents answered the questionnaire, most of them were aged 31-40, 33.2%. Most respondents answered the questionnaire. Joint Chiefs of Staff 40.2 percent of government officials answered the questionnaire. The majority of the respondents had a salary level of 10,001-20,000 baht, or 50.0 percent. Most of the respondents were commissioned officers. 51.4 percent of respondents, most of whom answered the questionnaire, were government officials for 1 to 5 years, accounting for 30.4 percent. Factors that make people work hard And dedication to the work done. Pleased to work with their own agency. Some of the factors that the staff have the opinion that they need to improve. Which corresponds to Barnard theory. Look at the organization as a system of conscious empathy of two or more people or more to accomplish something successfully. This synergy is rooted in the ability of organizations to achieve the same objectives between organizations and members. From the willingness of the members to enter the work. And from the media, the message is a link between persuading people to work for the organization. In addition, the trust of the supervisor is commended, praised the performance of the subordinate when performed well and received the assistance of the supervisor. When faced with the problem The workplace also has facilities and makes it feel safe. Colleagues are friendly, good listenersto each other. The welfare of the agency is appropriate. Can earn enough to earn their own living and family. And the agency promotes progress and increased competence. Motivation factors are directly related to motivation and motivation. More effectively because of the factors that can meet an individual's internal needs. 1) the success of the work of the person 2) the recognition 3) the nature of the work to be done 4) the responsibility 5) the progress