เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการการเลี้ยงโคเนื้อในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สงคราม ขุมทอง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการการเลี้ยงโคเนื้อในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย พลตรี สงคราม ขุมทอง หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
เอกสารวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการเลี้ยงโคเนื้อ
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต โดยมีเปาประสงค คือ ๑. เพื่อสงเสริมการเลี้ยงโคเนื้อของกลุมเกษตรกร
ผูเลี้ยงโคเนื้อ ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพการประกอบอาชีพเลี้ยงโคเนื้อตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๓. เพื่อศึกษาปจจัยที่สัมพันธกับการยอมรับการเลี้ยงโคเนื้อลูกผสม ๔. เพื่อหาอุปสรรคและ
ขอเสนอแนะของเกษตรในการเลี้ยงโคเนื้อลูกผสม โดยโครงการไดมีการจัดการความรู ทําใหเกิด
กิจกรรมตางๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพดานการปรับปรุงสายพันธุ ดานอาหารสัตว ดานการจัดการและ
ดานการตลาด เชน การอบรมใหความรู และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การสนับสนุนดานน้ําเชื้อและ
เมล็ดพันธุพืชอาหารสัตว และการติดตามผล ในดานทัศนคติของเกษตรกรตอเทคนิคการผสมเทียม
และการเลี้ยงโคเนื้อลูกผสม พบวา โดยภาพรวมเกษตรกรมีทัศนคติในระดับเห็นดวยอยางยิ่งตอเทคนิค
การผสมเทียมและวิธีการเลี้ยงโคเนื้อลูกผสมสงผลใหกลุมเกษตรกรไดรับการคัดเลือกใหเปนกลุม
ตนแบบของกลุมอาชีพขนาดเล็กซึ่งมีทักษะปฏิบัติที่ดีในการเลี้ยงโคเนื้อลูกผสมในดานการปรับปรุง
สายพันธุ ดานอาหารสัตว ดานการจัดการ และดานการตลาด
ดังนั้น จึงควรวางรูปแบบการบริหารจัดการการเลี้ยงโคเนื้อสําหรับจังหวัดชายแดนภาคใต
ใหเหมาะสมสําหรับเกษตรกร นอกจากเปนการสรางกลุมผูผลิตพืชอาหารหรืออาหารทางเลือกอื่นๆ
รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่แปลงหญาสาธารณะ และการสรางเครือขายของผูเลี้ยงโคเนื้อเปนภารกิจ
ที่ตองดําเนินการ
abstract:
ABSTRACT
Title : Guidelines for the management of beef cattle in the southern
provinces, Thailand
Field : Social psychology
Name : Major General Songkram Khumtong Course NDC Class 59
This paper aims to Guidelines for the management of beef cattle in the
southern provinces, Thailand. The objective is 1. for extension the context of farmer’s
crossbred beef cattle raising group. 2. to develop the potential of farmers crossbred
beef cattle raising career on sufficiency economy management. 3. study factors
related to the adoption of crossbred beef cattle and 4. find problems, obstacles and
suggestions of formers raising the crossbred beef cattle. The activities for their career
development were lecturing training, semen and forage seed supporting and
following-up studying. The project of attitude of farmers toward the new technique
of artificial insemination of crossbred beef cattle, revealed that they strongly agreed
with this new technique, farmers achieved in very aspects, resulted to be master group
from the southern provinces, Thailand. It was found that farmers from the southern
provinces, Thailand showed best practices in animal breeding, feed, management
and marketing aspects.
Therefore, appropriate guidelines for management of beef cattle productionin
the lower southern area should be designed. In addition, establishment of forage
production groups or other alternative feed groups, including public pasture development
groups, and networks of beef cattle raisers is a mission that must be carried out.